วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2557

รถรับจ้างเที่ยวเปล่าอยู่ในจังหวัดน่าน

รถรับจ้างเที่ยวเปล่าอยู่ในจังหวัดน่าน
รถรับจ้างน่าน
รถรับจ้างน่านถหกล้อรับจ้างย้ายบ้าน,บริการงานขนส่ง ,รับจัดส่งสินค้า รถรับจ้าง ขน ส่ง ยก ย้าย สิ่งของต่างๆ บริการด้วยความซื่อตรง เราให้บริการรถรับจ้างน่าน ตลอด 24 ชั่วโมง เพียงท่านคิดจะย้าย คิดถึงรถขนของคิดถึงเราทันที "สมาคมรถรับจ้างไทย" ,รถรับจ้างน่านด้วยราคายุติธรรม ไม่แพงอย่างที่ท่านคิด เพียงท่านยกหูหาเราเท่านั้นมีรถรับจ้างจังหวัดน่าน นัดล่วงหน้าราคาพิเศษ มีรถล่องทั่วไทย
ยินดีต้อนรับบริการรถรับจ้าง ขนของ ย้ายบ้าน ขน ส่ง ยก ย้าย สิ่งของต่างๆ ราคาถูกมาก มีรถบรรทุกประจำจังหวัดน่าน
รถบรรทุก
บริการ รถรถจ้างน่าน  รถรับจ้าง บริการขนย้าย 6 ล้อ 10 ล้อ ขนของ ขนส่ง ขนย้าย สินค้าต่างๆ ทั่วประเทศ พนักงานยก รับงานขนย้าย ย้ายบ้าน ย้ายคอนโด ย้ายหอพัก สำนักงาน ออฟฟิศ ท่านใดสนใจหรือมีงานเร่ง งานด่วน สามารถติดต่อเราได้ทันที บริการรถรับจ้าง ตลอด 24 ชั่วโมง มีรถ 6 ล้อ บริการขนย้ายสินค้า พร้อม พนักงานยกของ งานบูธสินค้า งานก่อสร้าง ย้ายบ้าน สำนักงาน โดยทีมงานมืออาชีพมีประสบการณ์มากกว่า 15 ปี ท่านใดสนใจสามารถติดต่อ ทีมงาน สมาคมรถรับจ้างไทย บริการ รถรับจ้างน่าน พร้อมทั้งเรายัง บริการ,รถรับจ้างขนของย้ายบ้าน น่าน ,รถ 10 ล้อรับจ้าง ขนย้ายเพื่องานแสดงโชว์ ออกบูธ ตามสถานที่ต่างๆ  รับผิดชอบงานทุกงาน ตรงต่อเวลา ด้วยการให้บริการด้านรถรับจ้างนานนับสิบปี เรารู้ความต้องการของท่าน เราตอบโจทย์ท่านได้ บริการด้านรถรับจ้าง ทั่วไทย ต้องเราเท่านั้น การย้ายหอพักสำหรับนักศึกษา แม้ว่าจะมีระยะทางใกล้ไกลแค่ไหน ก็สามารถเรียกใช้บริการรถรับจ้าง 4 ล้อ 6 ล้อ 10 ล้อ น่าน ได้โดยไม่ต้องกังวลเรื่องค่าใช้จ่ายในการขนย้าย เพราะมีราคาไม่แพง สามารถเรียกใช้บริการได้ไม่ว่าระยะทางจะใกล้หรือไกล ช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการขนของย้ายหอ อีกทั้งยังสามารถเรียกใช้บริการรถรับจ้าง 4 ล้อ 6 ล้อ 10 ล้อ น่าน ในการขนย้ายอุปกรณ์การเรียน การจัดนิทรรศการนอกสถานที่ได้อีกด้วย เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับนักเรียนนักศึกษาที่ไม่มีรถยนต์ส่วนตัว
รถกระบะ
ถึงแม้ว่าคุณจะอยู่ส่วนไหนของประเทศไทยที่กว้างใหญ่ไพศาลแห่งนี้ คุณเองก็สามารถเรียกใช้บริการของเราได้ทุกที่ ทุกเวลา โดยจังหวัดน่านเองก็มีบริการรถบรรทุกทั้ง 6 ล้อ และรถบรรทุก10 ล้อ ไว้คอยบริการคุณอยู่เสมอ รถบรรทุกของเรามีมากมายหลากหลายขนาดที่เราได้คัดสรรค์เลือกเฉพาะรถบรรทุกที่ได้รับมาตรฐานเท่านั้นมาให้บริการแก่คุณ โดยคุณเองสามารถเลือกสรรค์ขนาดรถบรรทุกได้ตามความต้องการเพื่อให้เหมาะสมต่อการใช้งานได้ ไม่ว่าจะขนย้ายบ้าน ขนย้ายสิ่งของ สินค้า เราก็ยินดีที่จะให้บริการ
รถ6ล้อ
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านน่าน
บริการรถสิบล้อรับจ้างทั่วไปในจังหวัดน่าน ถึงแม้ว่าจังหวัดทางภาคเหนือของเราจะไม่ค่อยได้รับความสะดวกสบายในงานด้านการบริการขนส่งเท่าที่ควร อาจจะเป็นด้วยเรื่องถนนหนทางที่เดินทางลำบากหรือด้วยสาเหตุใดๆ วันนี้เรามีบริการดีๆ ที่ช่วยให้การขนส่งสิ่งของหรือเคลื่อนย้ายสิ่งของของท่านนั้นสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น เราขอเสนอรถสิบล้อขนาดใหญ่ราคาย่อมเยาที่สามารถวิ่งขนส่งหรือขนย้ายให้ท่านได้อย่างรวดเร็วและปลอดภัยตลอดการเดินทาง เพียงท่านติดต่อมาที่เราทันที เรายินดีให้บริการ

บริการรถรับจ้างคลอบคลุมทุกอำเภอในจังหวัดน่าน
อำเภอสันติสุข
รถสิบล้อ
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอเมืองน่าน
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอแม่จริม
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอบ้านหลวง
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอนาน้อย
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอปัว
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอท่าวังผา
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอเวียงสา
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอทุ่งช้าง
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอเชียงกลาง
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอนาหมื่น
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอสันติสุข
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอบ่อเกลือ
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอสองแคว
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอภูเพียง
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอเฉลิมพระเกียรติ



บริการถรับจ้างทั่วไปในจังหวัดน่านเราให้บริการรถรับจ้างวิ่งงานไม่ว่าจะเป็รงานขนส่งสินค้างานขนย้ายสิ่งของงานบรรทุกต่างๆเราก็สามารถให้บริการทุกท่านได้เพียงวันนี้ท่านโทรมาสอบถามบริการดีๆจากเราเรายินดีให้คำแนะนำท่านได้ทุกเมื่อไม่ว่าท่านจะต้องการรถกระบะรถบรรทุกรถหกล้อรถสิบล้อรถลากรถยกรถพ่วงรถเครนรถโลเบทหางปลาฯลฯเราก็มีให้บริการทุกท่านทั้งสิ้นส่วนเรื่องราคานั้นเราขอยืนยันว่าเราไม่มีการโกงราคาที่เกินจริงในการให้บริการอย่างแน่นอนและราคานั้นท่านสามารถโทรติดต่อสอบถามกับทางทีมงานเราก่อนได้เลยครับ
4 ข้อควรรู้ง่ายๆในการย้ายบ้าน
อยากย้ายบ้านแต่ไม่อยากวุ่นวายในขณะที่ทำการย้ายบ้าน หรือกลัวมีปัญหาในการเก็บของอยู่ใช่หรือไม่ ในวันนี้เรามี 4 ข้อควรรู้ง่ายๆในการย้ายบ้านมาฝากกัน กับอีกสิ่งที่หลายคนอยากได้คือกำลังเสริม ดังนั้นหากหากำลังเสริมมาได้ล่ะก็อย่าลืมหามาด้วย มาเริ่มที่ข้อแรกกันเลย
ข้อแรกเลยคือ เตรียมอุปกรณ์ใส่ของที่จะย้ายให้ดี เราแนะนำว่าใช้เป็นกล่องกระดาษ ใช้คัตเตอร์ตัดเป็นช่องให้เราสามารถยกขึ้นได้ แต่ก็เลือกกล่องให้มีขนาดเหมาะสมกับของที่จะใส่ลงไปด้วย และก่อนจะเอาของใส่ก็เขียนติดไว้สักหน่อยว่าเป็นของจากห้องไหนของบ้าน และอย่าลืมเตรียมพวกเทปใส เทปกาวในการปิดกล่องให้เรียบร้อยด้วยล่ะ แค่นี้ก็จะช่วยให้การขนของขึ้นรถเป็นไปได้ง่ายมากเลยทีเดียว
ต่อไปเราขอแนะนำให้เก็บของไว้ล่วงหน้า ไม่ใช่ว่ามาเริ่มไม่กี่วันก่อนย้ายบ้าน ไม่งั้นเราจะจัดของแบบลวกๆทำให้ของอาจเกิดเสียหายได้หากเก็บไม่ดี หรืออาจจะเก็บของได้ไม่ครบอีกต่างหาก และถ้าใครมีปัญหาเรื่องความตั้งใจในการเก็บของแล้วล่ะก็ เราขอแนะนำให้ลองจับเวลาในการเก็บของดู เพราะเป็นแรงผลักดันที่ดีและทำให้เราสนุกอีกด้วย อีกอย่างก็คืออย่าเก็บของพร้อมกันหลายห้องเพราะจะทำให้เรารู้สึกเหนื่อยเร็ว แถมของยังจะปนกันได้ง่ายๆอีกด้วย ไงก็อย่าลืมเช็คเวลาจัดของล่วงหน้าก่อนวันย้ายจริงสักหน่อยนะ เอาสัก 2-3 วันก่อนย้ายบ้านก็จะดีมากแลยล่ะ
อีกอย่างที่เรามักเข้าใจผิดคือ การห่อของที่แตกได้ด้วยกระดาษหนังสือพิมพ์เพราะไม่ได้ช่วยให้แตกยากขึ้นเลย แนะนำให้ห่อของที่แตกได้ด้วยเสื้อผ้าดีกว่านอกจากจะสามารถเก็บของไม่ให้แตกได้แล้วยังได้แพ็คเสื้อผ้าไปด้วยพร้อมกันเลย ไม่ต้องมาเปลืองกระดาษหนังสือพิมพ์อีกต่างหาก ง่ายๆ แบบนี้ก็ลองทำกันดูนะ แล้วคุณจะสนุกกับการขนย้ายบ้านครั้งนี้อย่างแน่นอน
ที่สำคัญและหลายๆคนน่าจะรู้ก็คือพวก เอกสารสำคัญต่างๆของเรา ซึ่งปกติเราก็มักจะเก็บเป็นอย่างดีอยู่แล้วนั้น ในตอนที่ย้ายบ้านเราก็ขอแนะนำให้เก็บพวกเอกสารสำคัญต่างๆพวกนี้แยกต่างหากออกไปหรืออาจจะใส่รวมกับของอื่นก็ได้แต่ใส่ในถุง zip lock ให้ดีหน่อยนั่นเอง หรืออาจจะพกติดตัวเอาก็ได้เช่นกัน ซึ่งหากมีรถยนต์ส่วนตัว ก็อาจจะนำเอกสารเหล่านี้ไปใส่หลังเบาะไว้ก่อน รับรองไม่หาย ไม่ลืมแน่นอน


บริการรถ6ล้อรับจ้างจังหวัดน่าน

        บริการรับหกล้อรับจ้างจังหวัดนี้เขายินดีรับใช้และให้บริการทั่วทุกมุมของไทยไม่ว่าจะใกล้หรือไกลแค่ลูกค้าว่าจ้างเราเราก็จะบริการให้ถึงที่จนถึงหัวบันไดบ้านกันเลย บางคนอาจจะคิดว่าออกต่างจังหวัดค่าจ้างอาจจะแพงมากเรื่องนั้นหมดกังวลไปได้เลยราคาค่าจ้างเราตกลงคุยกันได้จ่ายก่อนหรือไปถึงปลายทางค่อยจ่ายกันก็ได้ไม่มีปัญหาและที่สำคัญพนักที่นี่ล้วนเป็นมืออาชีพถ้าคุณได้มาใช้บริการจะต้องติดใจอย่างแน่นอน


บริการรถกระบะ4ล้อรับจ้างน่าน

               หากท่านใดที่สนใจจะใช้บริการรถกระบะรับจ้างมาที่บริษัทของเราได้เลยเรายินดีรับใช้และให้บริการทุกอย่างแล้วแต่ความสะดวกของท่านรถกระบะของเรามีให้เลือกกันหลายรายการเช่นรถตอนเดียวหรือตอนครึ่งแล้วแต่ท่านจะเลือกใช้ท่านต้องการจะใช้บริการแบบไหนบอกได้เช่นบรรทุกผักหรือผลไม้หรือของสดเช่นอาหารทะเลหรือต้องการขนย้ายบ้านหรือขนย้ายสำนักงานย่อยๆเราก็ยินดีให้บริการในราคาค่าบริการที่ถูกมากถูกใจลูกค้าทุกคนแน่นอน

รถขนส่งจุดที่ 1 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง เชียงราย
รถขนส่งจุดที่ 2 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง เชียงใหม่
รถขนส่งจุดที่ 3 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง น่าน
รถขนส่งจุดที่ 4 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง พะเยา
รถขนส่งจุดที่ 5 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง แพร่
รถขนส่งจุดที่ 6 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง แม่ฮ่องสอน
รถขนส่งจุดที่ 7 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง ลำปาง
รถขนส่งจุดที่ 8 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง ลำพูน
รถขนส่งจุดที่ 9 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง อุตรดิตถ์
รถขนส่งจุดที่ 10 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง จันทบุรี
รถขนส่งจุดที่ 11 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง ฉะเชิงเทรา
รถขนส่งจุดที่ 12 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง ชลบุรี
รถขนส่งจุดที่ 13 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง ตราด
รถขนส่งจุดที่ 14 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง ปราจีนบุรี
รถขนส่งจุดที่ 15 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง ระยอง
รถขนส่งจุดที่ 16 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง สระแก้ว
รถขนส่งจุดที่ 17 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง กาฬสินธุ์
รถขนส่งจุดที่ 18 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง ขอนแก่น
รถขนส่งจุดที่ 19 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง ชัยภูมิ
รถขนส่งจุดที่ 20 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง นครพนม
รถขนส่งจุดที่ 21 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง นครราชสีมา
รถขนส่งจุดที่ 22 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง บึงกาฬ
รถขนส่งจุดที่ 23 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง บุรีรัมย์
รถขนส่งจุดที่ 24 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง มหาสารคาม
รถขนส่งจุดที่ 25 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง มุกดาหาร
รถขนส่งจุดที่ 26 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง ยโสธร
รถขนส่งจุดที่ 27 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง ร้อยเอ็ด
รถขนส่งจุดที่ 28 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง เลย
รถขนส่งจุดที่ 29 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง สกลนคร
รถขนส่งจุดที่ 30 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง สุรินทร์
รถขนส่งจุดที่ 31 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง ศรีสะเกษ
รถขนส่งจุดที่ 32 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง หนองคาย
รถขนส่งจุดที่ 33 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง หนองบัวลำภู
รถขนส่งจุดที่ 34 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง อุดรธานี
รถขนส่งจุดที่ 35 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง อุบลราชธานี
รถขนส่งจุดที่ 36 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง อำนาจเจริญ
รถขนส่งจุดที่ 37 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง กำแพงเพชร
รถขนส่งจุดที่ 38 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง ชัยนาท
รถขนส่งจุดที่ 39 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง นครนายก
รถขนส่งจุดที่ 40 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง นครปฐม
รถขนส่งจุดที่ 41 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง นครสวรรค์
รถขนส่งจุดที่ 42 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง นนทบุรี
รถขนส่งจุดที่ 43 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง ปทุมธานี
รถขนส่งจุดที่ 44 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง พระนครศรีอยุธยา
รถขนส่งจุดที่ 45 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง พิจิตร
รถขนส่งจุดที่ 46 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง พิษณุโลก
รถขนส่งจุดที่ 47 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง เพชรบูรณ์
รถขนส่งจุดที่ 48 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง ลพบุรี
รถขนส่งจุดที่ 49 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง สมุทรปราการ
รถขนส่งจุดที่ 50 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง สมุทรสงคราม
รถขนส่งจุดที่ 51 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง สมุทรสาคร
รถขนส่งจุดที่ 52 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง สิงห์บุรี
รถขนส่งจุดที่ 53 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง สุโขทัย
รถขนส่งจุดที่ 54 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง สุพรรณบุรี
รถขนส่งจุดที่ 55 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง สระบุรี
รถขนส่งจุดที่ 56 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง อ่างทอง
รถขนส่งจุดที่ 57 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง อุทัยธานี
รถขนส่งจุดที่ 58 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง กระบี่
รถขนส่งจุดที่ 59 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง ชุมพร
รถขนส่งจุดที่ 60 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง ตรัง
รถขนส่งจุดที่ 61 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง นราธิวาส
รถขนส่งจุดที่ 63 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง ปัตตานี
รถขนส่งจุดที่ 64 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง พังงา
รถขนส่งจุดที่ 65 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง พัทลุง
รถขนส่งจุดที่ 66 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง เก็ต
รถขนส่งจุดที่ 67 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง ระนอง
รถขนส่งจุดที่ 68 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง สตูล
รถขนส่งจุดที่ 69 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง งขลา
รถขนส่งจุดที่ 70 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง สุราษฎร์ธานี
รถขนส่งจุดที่ 71 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง ยะลา
รถขนส่งจุดที่ 72 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง กาญจนบุรี
รถขนส่งจุดที่ 73 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง ตาก
รถขนส่งจุดที่ 74 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง ประจวบคีรีขันธ์
รถขนส่งจุดที่ 75 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง เพชรบุรี
รถขนส่งจุดที่ 76 รถรับจ้างขนส่ง น่าน ไปถึง ราชบุรี

แผนที่ตัวเมืองจังหวัดน่าน  
แผนที่ตัวเมืองจังหวัดน่าน  http0817684439.blogspot.com
แผนที่ท่องเที่ยวน่าน
แผนที่ท่องเที่ยวน่าน  http0817684439.blogspot.com
น่าน (คำเมืองLanna-Nan.png) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย เป็นที่ตั้งของเมืองที่สำคัญในอดีต อาทิ เมืองน่าน เมืองปัว เมืองศีรษะเกษ เป็นต้น

เนื้อหา

 

สัญลักษณ์ประจำจังหวัด

ภูมิศาสตร์

เส้นทางหมายเลข 1256 บนสันเขาใกล้กับดอยภูคา
จังหวัดน่านมีสภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาซึ่งวางตัวในแนวเหนือ-ใต้ โดยเฉพาะบริเวณชายแดนด้านเหนือและตะวันออกซึ่งเป็นรอยต่อกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มีภูเข้ในเขตอำเภอบ่อเกลือ เป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในจังหวัด คือมีความสูงถึง 2,079 เมตร[3] และมีดอยภูคาในเขตอำเภอปัว เป็นยอดเขาที่สำคัญของจังหวัด มีความสูง 1,980 เมตร ส่วนพื้นที่ราบจะอยู่บริเวณตอนกลางของจังหวัด และตามลุ่มน้ำต่างๆ แหล่งน้ำที่สำคัญของจังหวัดคือแม่น้ำน่าน ซึ่งมีต้นกำเนิดทางตอนเหนือของจังหวัด แล้วไหลลงไปยังเขื่อนสิริกิติ์ในจังหวัดอุตรดิตถ์ และบรรจบกับแม่น้ำปิงที่จังหวัดนครสวรรค์เป็นแม่น้ำเจ้าพระยา นอกจากนี้ยังมีลำน้ำสาขาต่าง ๆ ที่สำคัญ ได้แก่ ลำน้ำสา ลำน้ำว้า ลำน้ำสมุน ลำน้ำปัว ลำน้ำย่าง ลำน้ำแหง เป็นต้น มีพื้นที่กว้างใหญ่ พื้นที่เต็มไปด้วยภูเขาสูงสลับซับซ้อน ทั้งยังมีประชากรหลายชาติพันธุ์ นับว่าเป็นดินแดนของความหลากหลายอีกแห่งหนึ่งของประเทศ

ภูมิอากาศ

มีลักษณะอากาศแบบทุ่งหญ้าเมืองร้อนแบบ 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว โดยมีความแตกต่างของฤดูอย่างชัดเจน
  • ฤดูร้อน ระหว่างเดือนมีนาคม - เมษายน อากาศร้อนถึงร้อนจัด (สถิติอุณภูมิสูงสุด 44.1 องศาเซลเซียส เมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2502)
  • ฤดูฝน ระหว่างเดือนพฤษภาคม - กันยายน มีฝนตกชุก จากอิทธิพลลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
  • ฤดูหนาว ระหว่างเดือนตุลาคม - กุมภาพันธ์ อากาศหนาวถึงหนาวจัด จากอิทธิพลลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (สถิติอุณภูมิต่ำสุด 2.7 องศาเซลเซียส เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2542) [4]

อาณาเขต

จังหวัดน่านมีด่านเข้าออกกับประเทศลาวหลายแห่งด้วยกัน เช่น จุดผ่านแดนถาวรสากลห้วยโก๋น-น้ำเงิน อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, จุดผ่อนปรนบ้านใหม่ชายแดน อำเภอสองแคว และจุดผ่อนปรนบ้านห้วยสะแตง อำเภอทุ่งช้าง

ประวัติศาสตร์

มีประวัติความเป็นมาที่เก่าแก่ยาวนาน มีชื่อเรียกในพงศาวดารว่า นันทบุรี เมืองน่านในอดีตเป็นนครรัฐเล็ก ๆ ก่อตัวขึ้นราวกลางพุทธศตวรรษที่ 18 บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำน่านและแม่น้ำสาขาในหุบเขาทางตะวันออกของภาคเหนือ

สมัยเมืองล่าง-วรนคร

เจ้าหลวงภูคา ปฐมเจ้าผู้ครองนครน่าน แห่งราชวงศ์ภูคา
ประวัติศาสตร์เมืองน่านเริ่มปรากฏขึ้นราว พ.ศ. 1825 ภายใต้การนำของพญาภูคาและนางพญาจำปาผู้เป็นชายา ซึ่งทั้งสองเป็นชาวเมืองเงินยาง ได้เป็นแกนนำพาผู้คนอพยพมาตั้งศูนย์การปกครองอยู่ที่เมืองล่าง ต่อมาเพี้ยนเป็นเมืองย่าง (เชื่อกันว่าคือบริเวณริมฝั่งด้านใต้ของแม่น้ำย่างบริเวณตำบลศิลาเพชร อำเภอปัว เลยไปถึงลำน้ำบั่ว ใกล้ทิวเขาดอยภูคาในเขตบ้านเสี้ยว บ้านทุ่งฆ้อง บ้านลอมกลาง ตำบลยมอำเภอท่าวังผา) เพราะปรากฏร่องรอยชุมชนในสภาพที่เป็นคูน้ำ คันดิน และกำแพงเมืองซ้อนกันอยู่ เห็นชัดเจนที่สุดคือบริเวณข้างพระธาตุจอมพริกบ้านเสี้ยวมีกำแพงเมืองปรากฏอยู่ซึ่งเป็นปราการทิศใต้ และป้อมปราการทิศเหนือลักษณะที่ปรากฏเป็นสันกำแพงดินบนยอดดอยม่อนหลวง บ้านลอมกลาง เป็นกำแพงเมืองสูงถึง 3 ชั้น ในแต่ละชั้นกว้าง 3 เมตร สูง 5 เมตร ขนานไปกับยอดดอยม่อนหลวง ต่อมาพระยาภูคา ได้ขยายอาณาเขตปกครองของตนออกไปให้กว้างขวางยิ่งขึ้น โดยส่งราชบุตรบุญธรรม 2 คนไปสร้างเมืองใหม่ โดยขุนนุ่นผู้พี่ไปสร้างเมืองจันทบุรี (เมืองพระบาง) และขุนฟองผู้น้องสร้างเมืองวรนครหรือเมืองปัว
ภายหลังขุนฟองถึงแก่พิราลัย เจ้าเก้าเถื่อนราชบุตรจึงได้ขึ้นครองเมืองปัวแทน ด้านพญาภูคาครองเมืองย่างมานานและมีอายุมากขึ้น มีความประสงค์จะให้เจ้าเก้าเถื่อนผู้หลานมาครองเมืองย่างแทน จึงให้เสนาอำมาตย์ไปเชิญ เจ้าเก้าเถื่อนเกรงใจปู่จึงยอมไปอยู่เมืองย่างและมอบให้ชายาคือนางพญาแม่ท้าวคำปินดูแลรักษาเมืองปัวแทน เมื่อพญาภูคาถึงแก่พิราลัย เจ้าเก้าเถื่อนจึงครองเมืองย่างแทน ในช่วงที่เมืองปัวว่างจากผู้นำ เนื่องจากเจ้าเก้าเถื่อนไปครองเมืองย่างแทนปู่นั้น พญางำเมืองเจ้าผู้ครองเมืองพะเยา จึงได้ขยายอิทธิพลเข้าครอบครองบ้านเมืองในเขตเมืองน่านทั้งหมด นางพญาแม่เท้าคำปินพร้อมด้วยบุตรในครรภ์ได้หลบหนีไปอยู่บ้านห้วยแร้ง จนคลอดได้บุตรชายชื่อว่าเจ้าขุนใส เติบใหญ่ได้เป็นขุนนางรับใช้พญางำเมืองจนเป็นที่โปรดปราน พญางำเมืองจึงสถาปนาให้เป็นเจ้าขุนใสยศ ครองเมืองปราด ภายหลังมีกำลังพลมากขึ้นจึงยกทัพมาต่อสู้จนหลุดพ้นจากอำนาจเมืองพะเยา และได้รับการสถาปนาเป็นพญาผานอง ขึ้นครองเมืองปัวอย่างอิสระระหว่างปี 1865-1894 รวม 30 ปีจึงพิราลัย
องค์พระบรมธาตุแช่แห้ง อนุสรณ์ความรักและความสัมพันธ์ ระหว่างเมืองน่านกับเมืองสุโขทัยในอดีต
ในสมัยของพญาการเมือง (กรานเมือง) โอรสของพญาผานอง เมืองปัวได้มีการขยายตัวมากขึ้น ตลอดจนมีความสัมพันธ์กับเมืองสุโขทัยอย่างใกล้ชิด พงศาวดารเมืองน่านกล่าวถึงพญาการเมืองว่า ได้รับเชิญจากเจ้าเมืองสุโขทัย (พระมหาธรรมราชาลิไท) ไปร่วมสร้างวัดหลวงอภัย (วัดอัมพวนาราม) ขากลับเจ้าเมืองสุโขทัย ได้พระราชทานพระธาตุ 7 องค์ พระพิมพ์ทองคำ 20 องค์ พระพิมพ์เงิน 20 องค์ ให้กับพญาการเมืองมาบูชา ณ เมืองปัว ด้วยพญาการเมืองได้ปรึกษาพระมหาเถรธรรมบาลจึงได้ก่อสร้างพระธาตุแช่แห้งขึ้นที่บนภูเพียงแช่แห้ง พร้อมทั้งได้อพยพผู้คนจากเมืองปัวลงมาสร้างเมืองใหม่ที่บริเวณพระธาตุแช่แห้ง เรียกว่า ภูเพียงแช่แห้งในปี พ.ศ. 1902 โดยมีพระธาตุแช่แห้งเป็นศูนย์กลางเมือง (มวลสารจากพระธาตุแช่แห้งใช้ทำพระสมเด็จจิตรลดา) หลังจากพญาการเมืองถึงแก่พิราลัย โอรสคือพญาผากองขึ้นครองแทน อยู่มาเกิดปัญหาความแห้งแล้ง จึงย้ายเมืองมาสร้างใหม่ที่ริมแม่น้ำน่านด้านตะวันตกบริเวณบ้านห้วยไค้ คือบริเวณที่ตั้งของจังหวัดน่านในปัจจุบัน เมื่อปี พ.ศ. 1911
ในสมัยเจ้าปู่เข่งครองเมืองระหว่างปี พ.ศ. 1950-1960 ได้สร้างวัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร วัดพระธาตุเขาน้อย (มวลสารจากพระธาตุเขาน้อยใช้ทำพระสมเด็จจิตรลดา) วัดพญาภู แต่สร้างไม่ทันเสร็จก็ถึงแก่พิราลัยเสียก่อน พญางั่วฬารผาสุมผู้เป็นหลานได้สร้างต่อจนแล้วเสร็จและได้สร้างพระพุทธรูปทองคำปางลีลา ปัจจุบันคือ พระพุทธนันทบุรีศรีศากยมุนี ประดิษฐานอยู่ในวิหารวัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร

สมัยล้านนา

ในปี พ.ศ. 1993 พระเจ้าติโลกราชกษัตริย์นครเชียงใหม่ มีความประสงค์จะครอบครองเมืองน่านและแหล่งเกลือบ่อมาง (เขตตำบลบ่อเกลือใต้ อำเภอบ่อเกลือปัจจุบัน) ที่มีอย่างอุดมสมบูรณ์และหาได้ยากทางภาคเหนือ จึงได้จัดกองทัพเข้ายึดเมืองน่าน พญาอินต๊ะแก่นท้าวไม่อาจต้านทานได้จึงอพยพหนีไปอาศัยอยู่ที่เมืองเชลียง (ศรีสัชนาลัย) เมืองน่านจึงถูกผนวกเข้าไว้ในอาณาจักรล้านนาตั้งแต่นั้นมา
ตลอดระยะเวลาเกือบ 100 ปีที่เมืองน่านอยู่ในครอบครองของอาณาจักรล้านนา ได้ค่อยๆ ซึมซับเอาศิลปวัฒนธรรมของล้านนามาไว้ในวิถีชีวิต โดยเฉพาะการรับเอาศิลปกรรมทางด้านศาสนา ปรากฏศิลปกรรมแบบล้านนาเข้ามาแทนที่ศิลปกรรมแบบสุโขทัยอย่างชัดเจน เช่น เจดีย์วัดพระธาตุแช่แห้ง เจดีย์วัดสวนตาล (มวลสารจากวัดสวนตาลใช้ทำพระสมเด็จจิตรลดา) เจดีย์วัดพระธาตุช้างค้ำ แม้จะเหลือส่วนฐานที่มีช้างล้อมรอบซึ่งเป็นลักษณะศิลปะแบบสุโขทัยอยู่ แต่ส่วนองค์เจดีย์ขึ้นไปถึงส่วนยอดเปลี่ยนเป็นศิลปกรรมแบบล้านนาไปจนหมดสิ้น ในระหว่างปี พ.ศ. 2103-2328 เมืองน่านได้ตกเป็นเมืองขึ้นของพม่าอยู่หลายครั้งและต้องเป็นเมืองร้างไร้ผู้คนถึง 2 ครา คือ ครั้งแรก ปี พ.ศ. 2247-2249 ครั้งที่ 2 ปี พ.ศ. 2321-2344

สมัยรัตนโกสินทร์

ปี พ.ศ. 2331 เจ้าอัตถวรปัญโญได้ลงมาเข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเพื่อขอเป็นข้าขอบขัณฑสีมา หลังจากขึ้นเจ้าอัตถวรปัญโญก็ยังมิได้เข้าไปอยู่เมืองน่านเสียทีเดียวเนื่องจากเมืองน่านยังรกร้างอยู่ จึงได้ย้ายไปอาศัยอยู่ตามที่ต่าง ๆ คือ บ้านตึ๊ดบุญเรือง เมืองงั้ว (บริเวณอำเภอนาน้อย) เมืองพ้อ (บริเวณอำเภอเวียงสา) จนกระทั่งหลังจากได้บูรณะซ่อมแซมเมืองน่านพร้อมทั้งได้ขอพระบรมราชานุญาตแล้ว จึงกลับเข้ามาอยู่ในเมืองน่านในปี พ.ศ. 2344 ในยุคสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เมืองน่านมีฐานะเป็นหัวเมืองประเทศราช เจ้าผู้ครองนครน่านในชั้นหลังทุกองค์ต่างปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความเที่ยงธรรม มีความซื่อสัตย์ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ราชวงศ์จักรี ได้ช่วยราชการบ้านเมืองสำคัญหลายครั้งหลายคราด้วยกัน นอกจากนี้เจ้าผู้ครองนครน่านต่างได้อุปถัมภ์ค้ำจุนและทำนุบำรุงกิจการพุทธศาสนาในเมืองน่านเป็นสำคัญ ได้สร้างธรรมนิทานชาดก การจารพระไตรปิฎกลงในคัมภีร์ใบลาน นับเป็นคัมภีร์ได้ 335 คัมภีร์นับเป็นผูกได้ 2,606 ผูก ได้นำไปมอบให้เมืองต่าง ๆ มีเมืองลำปาง เมืองลำพูน เมืองเชียงใหม่ เมืองเชียงราย และเมืองหลวงพระบาง
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน อดีตเคยเป็นหอคำของเจ้าผู้ครองนครน่านในอดีต
ในปี พ.ศ. 2446 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้มีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาให้เจ้าสุริยพงษ์ผลิตเดชฯ เลื่อนยศฐานันดรศักดิ์ขึ้นเป็น พระเจ้านครน่าน มีพระนามปรากฏตามสุพรรณปัฏว่า พระเจ้าสุริยพงษ์ผลิตเดช กุลเชษฐมหันต์ ไชยนันทบุรมหาราชวงศาธิบดี สุริตจารีราชนุภาวรักษ์ วิบูลยศักดิ์กิติไพศาล ภูบาลบพิตรสถิตย์ ณ นันทราชวงษ์ เป็นพระเจ้านครน่านองค์แรกและองค์เดียวในประวัติศาสตร์น่าน ภายหลังได้รับการสถาปนาเป็นพระเจ้าน่าน พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ ได้สร้างหอคำ (คุ้มหลวง) ขึ้นแทนหลังเดิมซึ่งสร้างในสมัยของเจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ และด้านหน้าหอคำมีข่วงไว้ทำหน้าที่คล้ายสนามหลวง สำหรับจัดงานพิธีต่าง ๆ ตลอดจนเป็นที่จัดขบวนทัพออกสู้ศึก จัดขบวนนำเสด็จ หรือขบวนรับแขกเมืองสำคัญ และในปี พ.ศ. 2474 เมื่อเจ้ามหาพรหมสุรธาดาเจ้าผู้ครองนครน่านถึงแก่พิราลัย ตำแหน่งเจ้าผู้ครองนครก็ถูกยุบเลิกตั้งแต่นั้นมา ส่วนหอคำได้ใช้เป็นศาลากลางจังหวัดน่าน จนปี พ.ศ. 2511 จังหวัดน่านได้มอบหอคำให้กรมศิลปากร ใช้เป็นสถานที่จัดตั้งพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่านจนกระทั่งปัจจุบัน
ในยุคประชาธิปไตย จังหวัดน่านยังมีตำนานการเป็นแหล่งกบดานของสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย โดยเฉพาะที่อำเภอทุ่งช้าง ซึ่งเป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์สำคัญอีกแห่งหนึ่ง โดยมีอนุสรณ์สถานวีรกรรมทุ่งช้างเป็นพยานช่วยเตือนความจำให้แก่ชนรุ่นหลัง

กลุ่มชาติพันธุ์

ประชากรในจังหวัดน่านมีอยู่อย่างเบาบางเป็นอันดับ 3 ของประเทศ (ประมาณ 41 คนต่อตารางกิโลเมตร)[ต้องการอ้างอิง] กระจัดกระจายไปตามสภาพทางภูมิศาสตร์ แบ่งได้เป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่
  1. ชาวไทยวน หรือ คนเมือง ส่วนใหญ่อพยพมาจากเชียงแสนและบริเวณต่างๆ ของล้านนา ซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัด
  2. ชาวไทลื้อ (ไทลื้อ, ไทยอง) ส่วนใหญ่อพยพมาจากสิบสองปันนาและหัวเมืองต่างๆ บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำโขง ซึ่งมีทั้งอพยพมาด้วยความสมัครใจและอพยพมาเนื่องจากเกิดศึกสงครามทั้งภายในหัวเมืองลื้อเอง และอพยพมามากที่สุดยุคเก็บผักใส่ซ้าเก็บข้าใส่เมืองของเจ้ากาวิลละแห่งเชียงใหม่ และเจ้าอัตถวรปัญโญฯ แห่งนครน่าน และยุคของเจ้าสุมนเทวราช อีกทั้งมีการอพยพเข้ามาเรื่อยๆ ครั้งเกิดการปฏิวัติการปกครองประเทศของจีน ชาวไทลื้ออาศัยตั้งบ้านเรือน อยู่กระจัดกระจายตามลุ่มน้ำต่างๆ ในจังหวัดน่านมีมากที่สุด คือ อำเภอปัวแทบทุกตำบล อำเภอท่าวังผา อำเภอสองแคว อำเภอเชียงกลาง และอำเภอทุ่งช้าง เลยไปถึงอำเภอเฉลิมพระเกียรติ
    ภาษาไทลื้อในจังหวัดน่าน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ
    (1) ไทลื้อฝั่งสิบสองปันนาตะวันออก ได้แก่ เมืองล้า เมืองมาง (อาศัยอยู่แถบลุ่มแม่น้ำน่าน บริเวณชุมชนบ้านหนองบัว ตำบลป่าคา อำเภอท่าวังผา และแถวตำบลยอด อำเภอสองแคว) สำเนียงพูดใกล้เคียงกับภาษาไทยอีสานปนลาวพวน
    (2) ไทลื้อฝั่งสิบสองปันนาตะวันตก ได้แก่ เมืองยู้ เมืองยอง เมืองเชียงลาบ เมืองเสี้ยว (อาศัยอยู่แถบลุ่มแม่น้ำย่าง บริเวณชุมชนตำบลยม ตำบลจอมพระ(บ้านถ่อน) อำเภอท่าวังผา แถบลุ่มแม่น้ำปัว ตำบลศิลาเพชร ตำบลศิลาแลง อำเภอปัว ถึงตำบลห้วยโก๋น อำเภอเฉลิมพระเกียรติ) สำเนียงพูดเหมือนสำเนียงคนยองในจังหวัดลำพูน-เชียงใหม่
  3. ชาวไทพวน หรือ ลาวพวน อยู่ที่บ้านฝายมูล อำเภอท่าวังผา และบ้านหลับมืนพวน อำเภอเวียงสา
  4. ชาวไทเขิน หรือ ชาวขึน อพยพมาจากเชียงตุง ปัจจุบันส่วนใหญ่จะถูกกลืนทางวัฒนธรรมจากคนเมือง ทั้งภาษาพูดและเครื่องแต่งกาย แต่บางหมู่บ้านยังมีการนับถือผีเจ้าเมืองของไทเขินอยู่ จึงรู้ว่าเป็นไทเขิน เช่นบ้านหนองม่วง อำเภอท่าวังผา ส่วนบ้านเชียงยืน ตำบลยม อำเภอท่าวังผา ถูกชาวไทลื้อกลืนวัฒนธรรมจนไม่เหลือเค้าของชาวไทเขิน
  5. ชาวไทใหญ่ หรือ เงี้ยว หรือ ไตโหลง มีถิ่นฐานในรัฐฉาน และเชียงตุง อาศัยอยู่บริเวณแถวอำเภอทุ่งช้าง ในปัจจุบันถูกกลืนวัฒนธรรมจนแทบแยกไม่ออกว่าเป็นชาวไทใหญ่
นอกจากนี้ในบริเวณที่สูงตามไหล่เขายังเป็นชุมชนของชนกลุ่มน้อยที่เรียกกันว่า "ชาวเขา" ได้แก่ ชาวม้งเมี่ยนลัวะหรือถิ่น, ขมุ รวมถึงชาวตองเหลืองหรือมาบลี ที่อาศัยอยู่ในบริเวณพื้นที่ตำบลแม่ขะนิง อำเภอเวียงสา
ผู้คนในจังหวัดน่านจึงมีภาษาพูดที่หลากหลายด้วยเช่นกัน แต่ส่วนใหญ่จะพูดภาษาไทยถิ่นเหนือหรือคำเมืองสำเนียงน่าน[ต้องการอ้างอิง]

ทำเนียบรายนามผู้ว่าราชการจังหวัดน่าน

ลำดับรายนามระยะเวลาดำรงตำแหน่ง
1พระยาพิชัยชาญฤทธิ์พ.ศ. 2433-2435
2พระยาสุนทรนุรักษ์พ.ศ. 2435-2437
3หลวงชาญภูเบศร์ (สวัสดิ์ ภูมิรัตน์)พ.ศ. 2437-2439
4จมื่นมหาดเล็ก (เรือง ภูมิรัตน์)พ.ศ. 2439-2444
5พระยาบรมบาทบำรุงพ.ศ. 2444-2449
6พระยาอุไทยมนตรี (พร จารุจินดา)พ.ศ. 2449-2450
7พระยาอมรฤทธิ์ธำรง (ฉี่ บุญนาค)พ.ศ. 2450-2451
8พระยาทรธนพัฒน์ (เจิม จารุจินดา)พ.ศ. 2451-2454
9พระอารีราชการัณย์ (ม.ร.ว.ปาน นพวงศ์)พ.ศ. 2454-2467
10พระยาวรวิไชยวุฒิกรณ์ (เลื่อน สนธิรัตน์)พ.ศ. 2467-2470
11พระยาอนุบาลพายัพกิจ (ปุ่น อาสนจินดา)พ.ศ. 2470-2471
12พระยากรุงศรีสวัสดิ์การ (จำรัส สวัสดิ์-ชูโต)พ.ศ. 2471-2476
13พระเกษตรสรรพกิจ (นุ่ม วรรณโกมล)พ.ศ. 2476-2480
14พระบริหารทัณฑนิติ (ประเสริฐ เศวตกนิษฐ์)พ.ศ. 2480-2482
15พระชาติตระการ (ม.ร.ว.จิตร คเนจร)พ.ศ. 2482-2482
16หลวงทรงประศาสน์ (ทองคำ นวลทรง)พ.ศ. 2482-2488
17ขุนระดับคดี (ปัญญา รมยานนท์)พ.ศ. 2488-2488
18ขุนอักษรสารสิทธิ์ (พินิจ อักษรสารสิทธิ์)พ.ศ. 2488-2489
19ขุนวิศิษฐ์อุดรการ (กรี วิศิษฐ์อุดรการ)พ.ศ. 2489-2490
20นายชลอ จารุจินดาพ.ศ. 2490-2490
21นายนวล มีชำนาญพ.ศ. 2490-2496
22นายมานิต ปุรณพรรค์พ.ศ. 2496-2500
23หลวงอนุมัติราชกิจ (อั๋น อนุมัติราชกิจ)พ.ศ. 2500-2503
24นายวิชาญ บรรณโศภิษฐ์พ.ศ. 2503-2510
25นายชิต ทองประยูรพ.ศ. 2510-2511
26พล.ต.ต.ศรีศักดิ์ ธรรมรักษ์พ.ศ. 2511-2514
27นายสุกิจ จุลละนันทน์พ.ศ. 2514-2517
28นายสวัสดิ์ ประไพพานิชพ.ศ. 2517-2518
29นายโชดก วีรธรรมพูลสวัสดิพ.ศ. 2518-2520
30นายสายสิทธิ พรแก้วพ.ศ. 2520-2521
31พ.ท.นพ.อุดม เพ็ชรศิริพ.ศ. 2521-2523
32นายชัยวัฒน์ หุตะเจริญพ.ศ. 2523-2526
33นายประกอบ แพทยกุลพ.ศ. 2526-2528
34นายเฉลิม พรหมเลิศพ.ศ. 2528-2530
35นายกาจ รักษ์มณีพ.ศ. 2530-2532
36พ.ต.ปรีดา นิสัยเจริญพ.ศ. 2532-2533
37นายอำนวย ยอดเพชรพ.ศ. 2533-2535
38นายจิโรจน์ โชติพันธุ์พ.ศ. 2535-2536
39นายประวิทย์ สีห์โสภณพ.ศ. 2536-2537
40นายสุจริต นันทมนตรีพ.ศ. 2537-2539
41นายจเด็จ อินสว่างพ.ศ. 2539-2541
42นายเชิดพงษ์ อุทัยสางพ.ศ. 2541-2541
43ร.ต.ต.ธนะพงษ์ จักกะพากพ.ศ. 2541-2545
44นายสุวัฒน์ โชคสุวัฒนสกุลพ.ศ. 2545-2548
45นายปริญญา ปานทองพ.ศ. 2548-2550
46นายสมพงษ์ อนุยุทธพงศ์พ.ศ. 2550-2551
47นายสมศักดิ์ สุวรรณสุจริตพ.ศ. 2551-2552
48นายวีรวิทย์ วิวัฒนวณิชพ.ศ. 2552-2553
49นายเสนีย์ จิตตเกษมพ.ศ. 2553-2554
50นายพงษ์ศักดิ์ วังเสมอพ.ศ. 2554-2555
51นายชุมพร แสงมณีพ.ศ. 2555-2556
52นายอุกริช พึ่งโสภาพ.ศ. 2556-2558
53นายสุวัฒน์ พรมสุวรรณพ.ศ. 2558-2559
54นายไพศาล วิมลรัตน์พ.ศ. 2559-ปัจจุบัน

หน่วยการปกครอง

การปกครองส่วนภูมิภาค

แผนที่อำเภอในจังหวัดน่าน
แบ่งการปกครองแบ่งออกเป็น 15 อำเภอ 99 ตำบล 890 หมู่บ้าน ได้แก่
ที่ชื่ออำเภอตัวเมืองอักษรโรมันจำนวนตำบลจำนวนประชากร[6]
1.เมืองน่านLanna-Mueang Nan.pngMueang Nan1181,984
2.แม่จริมLanna-Mae Charim.pngMae Charim516,151
3.บ้านหลวงLanna-Ban Luang.pngBan Luang411,845
4.นาน้อยLanna-Na Noi.pngNa Noi732,978
5.ปัวLanna-Pua.pngPua1264,813
6.ท่าวังผาLanna-Tha Wang Pha.pngTha Wang Pha1050,955
7.เวียงสาLanna-Wiang Sa.pngWiang Sa1770,895
8.ทุ่งช้างLanna-Thung Chang.pngThung Chang418,685
9.เชียงกลางLanna-Chiang Klang.pngChiang Klang627,840
10.นาหมื่นLanna-Na Muen.pngNa Muen414,658
11.สันติสุขLanna-Santisuk.pngSanti Suk315,864
12.บ่อเกลือLanna-Bo Kluea.pngBo Kluea414,907
13.สองแควLanna-Song Khwae.pngSong Khwae312,216
14.ภูเพียงLanna-Phu Phiang.pngPhu Phiang735,951
15.เฉลิมพระเกียรติLanna-Chaloem Phra Kiat.pngChaloem Phra Kiat29,776

การปกครองส่วนท้องถิ่น

ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลเมือง 1 แห่ง เทศบาลตำบล 18 แห่งและองค์การบริหารส่วนตำบล 80 แห่ง ได้แก่
อำเภอเมืองน่าน
อำเภอเวียงสา
อำเภอปัว
อำเภอเชียงกลาง
อำเภอนาน้อย
อำเภอทุ่งช้าง
อำเภอท่าวังผา
อำเภอแม่จริม
อำเภอนาหมื่น
อำเภอสองแคว
อำเภอบ่อเกลือ

ประชากรในจังหวัด

      หมายถึงจำนวนประชากรได้เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีก่อน
      หมายถึงจำนวนประชากรได้ลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อน
อันดับ
(ปีล่าสุด)
อำเภอพ.ศ. 2558[10]พ.ศ. 2557[11]พ.ศ. 2556[12]พ.ศ. 2555[13]พ.ศ. 2554[14]พ.ศ. 2553[15]พ.ศ. 2552[16]พ.ศ. 2551[17]
1เมืองน่าน81,98481,70681,77881,98181,70681,48181,32781,178
2เวียงสา70,89570,74370,71770,69570,42470,38270,35770,024
3ปัว64,81364,71064,55164,48664,21464,31864,26364,413
4ท่าวังผา50,95550,94350,97451,25751,26551,48551,51851,609
5ภูเพียง35,95135,77735,83335,73035,60935,63935,53535,488
6นาน้อย32,97832,92932,82132,68132,65732,59932,56032,644
7เชียงกลาง27,84027,92128,01928,07028,12728,19028,23428,372
8ทุ่งช้าง18,65818,49918,37518,32918,30518,27718,29618,479
9แม่จริม16,15116,05715,98915,91315,77915,64715,55315,543
10สันติสุข15,86415,84115,87515,79615,81415,82315,69515,719
11บ่อเกลือ14,90714,85514,80914,68414,59614,45514,32614,593
12นาหมื่น14,68514,68014,69614,70014,75414,80714,81714,861
13สองแคว12,21612,11212,04412,01711,95411,86011,76511,732
14บ้านหลวง11,84511,86611,88611,90011,99712,01312,06312,047
15เฉลิมพระเกียรติ9,7769,6259,5459,4349,4119,3879,3059,282
รวม479,518478,264477,912477,673476,612476,363475,614475,984

อุทยาน วนอุทยาน เขตห้ามล่าสัตว์ป่า สวนรุกขชาติ

มีจำนวนอุทยานแห่งชาติ 7 แห่ง, วนอุทยาน 1 แห่ง, เขตห้ามล่าสัตว์ป่า 1 แห่ง และสวนรุกขชาติ 2 แห่ง ได้แก่
อุทยานแห่งชาติแห่งแรกของจังหวัดน่าน มีอาณาเขตกว้างขวางเป็นอันดับ 4 ของประเทศ โดยมีพื้นที่ประมาณ 1,065,000 ไร่ หรือ 1,704 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมในท้องที่ 8 อำเภอของจังหวัดน่าน ได้แก่ อำเภอปัว อำเภอท่าวังผา อำเภอทุ่งช้าง อำเภอเชียงกลาง อำเภอบ่อเกลือ อำเภอสันติสุข อำเภอเฉลิมพระเกียรติ และ อำเภอแม่จริม ประกอบด้วยพรรณไม้ที่หลากหลาย มีการค้นพบพืชสำคัญหลายชนิด เช่น เต่าร้างยักษ์ภูคา ก่วมภูคา รางจืดภูคา ที่พบเฉพาะที่นี่เพียงแห่งเดียว รวมถึงต้นชมพูภูคา ซึ่งพบที่นี่เพียงแห่งเดียวเช่นกัน
มีพื้นที่ครอบคลุมในท้องที่อำเภอนาหมื่น อำเภอนาน้อย อำเภอเวียงสา ตามแนวสองฟากฝั่งลำน้ำน่าน จนไปสิ้นสุดที่อ่างเก็บน้ำเขื่อนสิริกิติ์ มีเนื้อที่ประมาณ 640,237.50 ไร่ หรือ 1,024.38 ตารางกิโลเมตร สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ ได้แก่ ดอยเสมอดาว ผาหัวสิงห์ ผาชู้ เสาดิน แก่งหลวง หมู่บ้านประมงปากนาย เป็นต้น
อยู่ในอำเภอแม่จริม มีเนื้อที่ประมาณ 270,000 ไร่ หรือ 432 ตารางกิโลเมตร มีกิจกรรมการท่องเที่ยวที่เด่นคือ การล่องแก่งลำน้ำว้า
อยู่ในท้องที่อำเภอท่าวังผา อำเภอเชียงกลาง อำเภอทุ่งช้าง อำเภอสองแคว จังหวัดน่าน และอำเภอเชียงคำ อำเภอปง จังหวัดพะเยา มีพื้นที่ประมาณ 155,200 ไร่ หรือ 248.32 ตารางกิโลเมตร
มีพื้นที่ครอบคลุมท้องที่อำเภอท่าวังผา อำเภอเมืองน่าน อำเภอบ้านหลวง เนื้อที่ประมาณ 548,125 ไร่ หรือ 877 ตารางกิโลเมตร พื้นที่แห่งนี้เป็นจุดยุทธศาสตร์ที่ สำคัญแห่งหนึ่งในอดีต เคยอยู่ภายใต้อิทธิพลของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย มีการต่อสู้ระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐกับผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์
มีพื้นที่ครอบคลุมป่าฝั่งขวาแม่น้ำน่านตอนใต้ ในท้องที่อำเภอนาน้อย และอำเภอนาหมื่น เนื้อที่ประมาณ 262,000 ไร่ หรือ 419.2 ตารางกิโลเมตร
ครอบคลุมพื้นที่อำเภอบ่อเกลือ มีพรรณไม้และสัตว์ป่าที่น่าสนใจมากมาย มีพื้นที่ประมาณ 155,375 ไร่ หรือ 248.6 ตารางกิโลเมตร
อยู่ในท้องที่บ้านผาตูบ ตำบลผาสิงห์ อำเภอเมืองน่าน มีเนื้อที่ประมาณ 528 ไร่
อยู่ในท้องที่ตำบลบ่อเกลือใต้ ตำบลภูฟ้า อำเภอบ่อเกลือ และตำบลหนองแดง ตำบลน้ำพาง ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม มีเนื้อที่ประมาณ 74,553 ไร่
ตั้งอยู่ที่ตำบลม่วงตึ๊ด อำเภอภูเพียง โดยมีอาณาเขตติดกับวัดพระธาตุแช่แห้ง มีเนื้อที่ประมาณ 72 ไร่
อยู่ในท้องที่ตำบลอ่ายนาไลย อำเภอเวียงสา มีเนื้อที่ประมาณ 400 ไร่

การคมนาคม

เนื่องด้วยภูมิศาสตร์ของจังหวัดน่านมีพื้นที่ติดต่อกับจังหวัดอื่นๆ ไม่มาก และเป็นจังหวัดชายแดนติดกับประเทศลาว ดังนั้นการเดินทางมาจังหวัดน่านจึงมีเส้นทางที่จำกัด ไม่มีทางรถไฟ แต่ก็มีท่าอากาศยานน่าน รวมทั้งมีถนนสายหลักที่ตัดผ่านตลอดความยาวตั้งแต่เหนือลงมาและมีสภาพผิวถนนที่ดี สามารถใช้งานได้ตลอดปี

ทางถนน

เครือข่ายถนนในจังหวัดประกอบด้วยแนวถนนในแนวเหนือ-ใต้ และแนวตะวันตก-ตะวันออก มีถนนลาดยางจากตัวจังหวัดไปยังอำเภอต่างๆ และจังหวัดใกล้เคียง
  • ทางหลวงแผ่นดินที่สำคัญ ได้แก่
  1. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 101 (กำแพงเพชร-จุดผ่านแดนถาวรห้วยโก๋น/น้ำเงิน (เขตแดนไทย/ลาว))
  2. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1081 (ปัว-เฉลิมพระเกียรติ)
  3. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1083 (ห้วยน้อยกา - นาน้อย)
  4. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1091 (จุน -น่าน)
  5. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1148 (ท่าวังผา-บ้านหย่วน)
  • ระยะทางระหว่างอำเภอ (วัดระยะสั้นที่สุดจากศาลากลาง)
1.เมืองน่าน5 กิโลเมตร9.นาหมื่น78 กิโลเมตร
2.เวียงสา23 กิโลเมตร10.บ้านหลวง48 กิโลเมตร
3.ปัว63 กิโลเมตร11.สันติสุข32 กิโลเมตร
4.ทุ่งช้าง80 กิโลเมตร12.บ่อเกลือ85 กิโลเมตร
5.ท่าวังผา45 กิโลเมตร13.สองแคว78 กิโลเมตร
6.นาน้อย58 กิโลเมตร14.เฉลิมพระเกียรติ130 กิโลเมตร
7.เชียงกลาง68 กิโลเมตร15.ภูเพียง6 กิโลเมตร
8.แม่จริม38 กิโลเมตร

ทางรถไฟ

จังหวัดน่านไม่มีเส้นทางรถไฟผ่าน แต่สามารถเดินทางมาลงที่สถานีรถไฟเด่นชัย อำเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่่ แล้วเดินทางด้วยถนนระยะทางประมาณ 140 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 101 มายังตัวจังหวัดได้

ทางอากาศ

มีท่าอากาศยานน่านนครซึ่งเป็นสนามบินพาณิชย์ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของตัวเมืองห่างประมาณ 3 กิโลเมตร มีเที่ยวบินระหว่างท่าอากาศยานเชียงใหม่และ ท่าอากาศยานดอนเมือง
- สายการบิน นกแอร์ ให้บริการ 5 เที่ยวบินต่อวัน
- สายการบิน แอร์เอเชีย ให้บริการ 2 เที่ยวบินต่อวัน
- สายการบิน กานต์แอร์ ให้บริการ 2 เที่ยวบินต่อสัปดาห์

รถโดยสารประจำทาง

  • บริษัทขนส่ง จำกัด มีรถโดยสารปรับอากาศชั้น 2 ,รถปรับอากาศชั้น 1 , รถนอนพิเศษ วีไอพี ออกจากสถานีขนส่งสายเหนือ ถนนกำแพงเพชร 2
  • บริษัท นครชัยแอร์ จำกัด มีรถโดยสารปรับอากาศชั้น 1(พิเศษ) รถโดยสารออกจาก ศูนย์บริการนครชัยแอร์ และ สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ(จตุจักร)
  • บริษัท เทพสมบัติ จำกัด(สมบัติทัวร์) มีรถโดยสารปรับอากาศชั้น 1 ,รถปรับอากาศชั้น 1(พิเศษ) , รถนอนพิเศษ วีไอพี รถโดยสารออกจาก ศูนย์บริการลูกค้าสมบัติทัวร์วิภาวดี และ สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ(จตุจักร)
  • สาย 910 กรุงเทพ-น่าน (กรุงเทพ-นครสวรรค์-พิษณุโลก-เด่นชัย-แพร่-ร้องกวาง-เวียงสา-น่าน) บริษัทผู้เดินรถ ได้แก่ บขส. สมบัติทัวร์ นครชัยแอร์ เชิดชัยทัวร์ บุศราคัมทัวร์
  • สาย 96 กรุงเทพ-น่าน (กรุงเทพ-นครสวรรค์-กำแพงเพชร-สุโขทัย-อุตรดิตถ์-แพร่-ร้องกวาง-เวียงสา-น่าน) บริษัทผู้เดินรถ ได้แก่ บขส. เชิดชัยทัวร์ บุษรามคัมทัวร์
  • สาย 47 กรุงเทพ-ทุ่งช้าง (กรุงเทพ-นครสวรรค์-พิษณุโลก-แพร่-เวียงสา-น่าน-ท่าวังผา-ปัว-เชียงกลาง-ทุ่งช้าง) บริษัทผู้เดินรถ ได้แก่ บขส. สมบัติทัวร์ เชิดชัยทัวร์
  • สาย 660 ระยอง-แพร่-น่าน (ระยอง-พัทยา-ชลบุรี-ฉะเชิงเทรา-สระบุรี-พิษณุโลก-อุตรดิตถ์-แพร่-ร้องกวาง-เวียงสา-น่าน) บริษัทผู้เดินรถ ได้แก่ นครชัยแอร์
  • สาย 613 พิษณุโลก-น่าน-ทุ่งช้าง (พิษณุโลก-อุตรดิตถ์-แพร่-น่าน-ทุ่งช้าง) บริษัทผู้เดินรถ ได้แก่ สุโขทัยวินทัวร์ และ นครน่านทัวร์
  • สาย 664 นครสวรรค์-น่าน (นครสวรรค์-พิษณุโลก-อุตรดิตถ์-แพร่-เวียงสา-น่าน) บริษัทผู้เดินรถ ได้แก่ นครสวรรค์ยานยนต์ (ถาวรฟาร์มทัวร์)
  • สาย 169-2 เชียงใหม่-ทุ่งช้าง (เชียงใหม่-ลำปาง-เด่นชัย-แพร่-ร้องกวาง-น่าน-ท่าวังผา-ปัว-เชียงกลาง-ทุ่งช้าง) บริษัท ไทยพัฒนกิจขนส่ง จำกัด
  • สาย 113 เชียงใหม่-น่าน (เชียงใหม่-แม่ขะจาน-วังเหนือ-พะเยา-ดอกคำใต้-ปง-เชียงม่วน-น่าน) บริษัท ไทยพัฒนกิจขนส่ง จำกัด
  • สาย 612 พะเยา-น่าน (พะเยา-ดอกคำใต้-ปง-เชียงม่วน-น่าน) บริษัท พะเยาขนส่ง จำกัด
  • สาย 611 เชียงราย-น่าน (เชียงราย-เทิง-เชียงคำ-ท่าวังผา-น่าน) บริษัท ก.สหกิจเดินรถเชียงราย จำกัด
  • สาย 143 อ.เฉลิมพระเกียรติ-น่าน-อ.เด่นชัย (ห้วยโก๋น-เฉลิมพระเกียรติ-ทุ่งช้าง-เชียงกลาง-ปัว-ท่าวังผา-น่าน-เวียงสา-ร้องกวาง-แพร่-เด่นชัย) บริษัท นครน่านยานยนต์ขนส่ง จำกัด


[gmaps] [/gmaps]

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น