รถรับจ้างเที่ยวเปล่าจันทบุรี
รถรับจ้างเที่ยวเปล่าอยู่จังหวัดจันทบุรี ให้บริการด้าน,รถรับจ้างจันทบุรี,รถหกล้อรับจ้างย้ายบ้าน,บริการงานขนส่ง ,รับจัดส่งสินค้า รถรับจ้าง ขน ส่ง ยก ย้าย สิ่งของต่างๆ
บริการด้วยความซื่อตรง เราให้บริการ,รถรับจ้างจันทบุรี ตลอด 24 ชั่วโมง เพียงท่านคิดจะย้าย คิดถึงรถขนของคิดถึงเราทันที
"สมาคมรถรับจ้างไทย" ,รถรับจ้างจันทบุรีด้วยราคายุติธรรม ไม่แพงอย่างที่ท่านคิด
เพียงท่านยกหูหาเราเท่านั้น มีรถรับจ้างจังหวัดจันทบุรี นัดล่วงหน้าราคาพิเศษ
มีรถล่องทั่วไทย
ยินดีต้อนรับบริการรถรับจ้าง
ขนของ ย้ายบ้าน ขน ส่ง ยก ย้าย สิ่งของต่างๆ ราคาถูกมาก มีรถบรรทุกประจำจังหวัดจันทบุรี
รถบรรทุก |
บริการ
รถรถจ้างจันทบุรี รถรับจ้าง บริการขนย้าย 6 ล้อ 10 ล้อ ขนของ ขนส่ง ขนย้าย สินค้าต่างๆ ทั่วประเทศ พนักงานยก รับงานขนย้าย
ย้ายบ้าน ย้ายคอนโด ย้ายหอพัก สำนักงาน ออฟฟิศ
บริการรถรับจ้างขนย้าย จันทบุรีไปทั่วไทย ท่านใดสนใจหรือมีงานเร่ง งานด่วน สามารถติดต่อเราได้ทันที บริการ รถรับจ้าง ตลอด 24 ชั่วโมง มีรถ 6 ล้อ บริการขนย้ายสินค้าพร้อม พนักงานยกของ งานบูธสินค้า งานก่อสร้าง
ย้ายบ้าน สำนักงาน โดยทีมงานมืออาชีพมีประสบการณ์มากกว่า 15 ปี ท่านใดสนใจสามารถติดต่อ ทีมงาน สมาคมรถรับจ้างไทย
บริการ รถรับจ้างจันทบุรี พร้อมทั้งเรายัง บริการ,รถรับจ้างขนของย้ายบ้าน จันทบุรี ,รถ 10 ล้อรับจ้าง ขนย้ายเพื่องานแสดงโชว์ ออกบูธ ตามสถานที่ต่างๆ
รับผิดชอบงานทุกงาน ตรงต่อเวลา ด้วยการให้บริการด้านรถรับจ้างนานนับสิบปี
เรารู้ความต้องการของท่าน เราตอบโจทย์ท่านได้ บริการด้านรถรับจ้าง ทั่วไทย
ต้องเราเท่านั้น
เมื่อต้องการย้ายบ้าน
การเลือกใช้บริการรถรับจ้าง 4 ล้อ 6 ล้อ 10 ล้อ สามารถช่วยให้การย้ายบ้านหรือย้ายหอพักเป็นเรื่องที่สะดวกสบายมากขึ้น
หลายคนที่กังวลใจเรื่องการขนส่งสิ่งของและเฟอร์นิเจอร์ภายในบ้านไปยังบ้านใหม่
เพราะมีเป็นจำนวนมาก และกลัวว่าหากขนส่งไม่ดีจะทำให้ข้าวของแตกหักเสียหาย
แต่เพียงแค่คุณเลือกใช้ บริการรถรับจ้าง 4 ล้อ 6 ล้อ 10
ล้อ ในจันทบุรีที่มีพนักงานทำงานกันแบบมืออาชีพ
นอกจากจะช่วยให้คุณจัดเก็บและย้ายสิ่งของได้อย่างรวดเร็วแล้ว
ยังช่วยดูแลสิ่งของและเฟอร์นิเจอร์ต่างๆที่ต้องการการดูแลเป็นพิเศษ
ให้ถึงที่หมายได้อย่างปลอดภัย และเมื่อไปถึงจุดหมายปลายทาง ยังช่วยคุณจัดการขนย้ายสิ่งของชิ้นใหญ่ที่มีน้ำหนักมากให้อีกด้วย
บริการรถรับจ้างคลอบคลุมทุกอำเภอในจังหวัดจันทบุรี
บริการรถรับจ้างคลอบคลุมทุกอำเภอในจังหวัดจันทบุรี
รถกระบะ |
เมื่อไหร่ที่ท่านมีความต้องการที่จะใช้บริการรถบรรทุกจันทบุรีของเราขอให้นึกถึงการบริการของเราเป็นอันดับแรก โดยการบริการของเรานั้นมีทั้งการให้บริการรถบรรทุก 6 ล้อ และรถบรรทุก 10 ล้อ เพื่อที่จะสามารถตอบสนองความต้องการ และลักษณะงานของลูกค้าได้ อีกทั้งเราเองก็ยังมีความพร้อมที่จะให้บริการเกี่ยวกับการให้คำปรึกษาในกรณีที่ท่านไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับรถบรรทุกเลย เราพร้อมที่จะให้บริการให้ข้อมูลแก่ท่านเพื่อให้ท่านสามารถตัดสินใจในการใช้บริการของเราได้เสมอ และทุกที่ ทุกเวลา
รถ6ล้อ |
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านจันทบุรี
บริการรถสิบล้อรับจ้างทั่วไปในจังหวัดจันทบุรี
เราคือผู้ให้บริการงานขนส่งดีๆให้กับพี่น้องจังหวัดจันทบุรีทุกท่าน
ไม่ว่าท่านจะขนย้ายสิ่งของเครื่องใช้ ขนย้ายเครื่องจักรอุตสาหกรรม
เราก็สามารถหยิบยื่นความช่วยเหลือที่ดีให้กับท่านได้ไม่มากก็น้อย
แต่อย่างหนึ่งที่เราต้องการและพร้อมมอบให้ท่านเสมอคือความสะดวกสบายและการให้บริการอย่างมืออาชีพจากเราอย่างแน่นอนครับ
ท่านสามารถติดต่อขอความช่วยเหลือจากเราได้ตลอดเวลาเลยครับ ขอเพียงโทรมาสอบถามเราเท่านั้น
เรายินดีและเต็ใจให้บริการ
รถสิบล้อ |
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอแก่งหางแมว
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอขลุง
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอเขาคิชฌกูฏ
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอท่าใหม่
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอนายายอาม
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอโป่งน้ำร้อน
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอเมืองจันทบุรี
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอมะขาม
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอสอยดาว
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอแหลมสิงห์
บริการรถรับจ้างทั่วไปในจังหวัดจันทบุรีหากท่านอยู่ในจังหวัดจันทบุรีและมีความเดืดร้อนหรือต้องการความช่วยเหลือในเรื่องรถรับจ้างสักคันเพื่อช่วยให้ความต้องการที่จะขนย้ายสิ่งของหรือขนส่งพืชพันธ์ทางการเกษตรเพื่อนำไปขายยังตลาดแล้วท่านไม่มีรถเพื่อบรรทุกสิ่งของนั้นๆเราสามารถช่วยท่านได้แน่นอนครับเรามีบริการรถรับจ้างทั่วไปไม่ว่าจะเป็นรถกระบะรถหกล้อรถสิบล้อรถบรรทุกรถตู้รถลากฯลฯเรามีพร้อมมารอให้ท่านได้ใช้บริการท่านสามารถติดต่อเราได้ตลอด24 ชั่วโมงครับ
แผนที่ตัวเมือง จันทบุรี
บริการรับหกล้อรับจ้างจังหวัดจันทบุรี
บริการรับหกล้อรับจ้างจังหวัดจันทบุรีเขายินดีรับใช้และให้บริการทั่วทุกมุมของไทยไม่ว่าจะใกล้หรือไกลแค่ลูกค้าว่าจ้างเราเราก็จะบริการให้ถึงที่จนถึงหัวบันไดบ้านกันเลย
บางคนอาจจะคิดว่าออกต่างจังหวัดค่าจ้างอาจจะแพงมากเรื่องนั้นหมดกังวลไปได้เลยราคาค่าจ้างเราตกลงคุยกันได้จ่ายก่อนหรือไปถึงปลายทางค่อยจ่ายกันก็ได้ไม่มีปัญหาและที่สำคัญพนักที่นี่ล้วนเป็นมืออาชีพถ้าคุณได้มาใช้บริการจะต้องติดใจมากๆแน่
บริการรถกระบะ4ล้อรับจ้างจังหวัดจันทบุรี
บริการรถกระบะรับจ้างจังหวัดจันทบุรีแห่งนี้รับจ้างทุกอย่างและพนักงานของเราทุกคนมีความซื่อสัตย์
ซื่อตรงต่อหน้าที่ของเขาถ้าคุณกลัวว่าของจะหายขณะที่เขาบรรทุกละก็เลิกคิดได้เลย
ถ้าคุณลองได้มาใช้บริการของเขาแล้วละก็คุณจะพอใจในการให้บริการของเขาอย่างแน่นอน
พนักงานพูดจาสุภาพขับรถปลอดภัยไม่ประมาทให้บริการที่เป็นกันเองกับลูกค้าทุกคนในราคาที่ไม่แพงเลยและสภาพรถที่แข็งแรงครบวงจรจริงๆลองมาใช้บริการกันนะรับรองถูกใจกันแน่รับรองไม่ผิดหวัง
รถขนส่งจุดที่ 1 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง เชียงราย
รถขนส่งจุดที่ 2 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง เชียงใหม่
รถขนส่งจุดที่ 3 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง น่าน
รถขนส่งจุดที่ 4 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง พะเยา
รถขนส่งจุดที่ 5 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง แพร่
รถขนส่งจุดที่ 6 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง แม่ฮ่องสอน
รถขนส่งจุดที่ 7 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ลำปาง
รถขนส่งจุดที่ 8 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ลำพูน
รถขนส่งจุดที่ 9 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง อุตรดิตถ์
รถขนส่งจุดที่ 10 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง จันทบุรี
รถขนส่งจุดที่ 11 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ฉะเชิงเทรา
รถขนส่งจุดที่ 12 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ชลบุรี
รถขนส่งจุดที่ 13 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ตราด
รถขนส่งจุดที่ 14 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ปราจีนบุรี
รถขนส่งจุดที่ 15 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ระยอง
รถขนส่งจุดที่ 16 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง สระแก้ว
รถขนส่งจุดที่ 17 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง กาฬสินธุ์
รถขนส่งจุดที่ 18 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ขอนแก่น
รถขนส่งจุดที่ 19 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ชัยภูมิ
รถขนส่งจุดที่ 20 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง นครพนม
รถขนส่งจุดที่ 21 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง นครราชสีมา
รถขนส่งจุดที่ 22 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง บึงกาฬ
รถขนส่งจุดที่ 23 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง บุรีรัมย์
รถขนส่งจุดที่ 24 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง มหาสารคาม
รถขนส่งจุดที่ 25 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง มุกดาหาร
รถขนส่งจุดที่ 26 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ยโสธร
รถขนส่งจุดที่ 27 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ร้อยเอ็ด
รถขนส่งจุดที่ 28 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง เลย
รถขนส่งจุดที่ 29 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง สกลนคร
รถขนส่งจุดที่ 30 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง สุรินทร์
รถขนส่งจุดที่ 31 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ศรีสะเกษ
รถขนส่งจุดที่ 32 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง หนองคาย
รถขนส่งจุดที่ 33 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง หนองบัวลำภู
รถขนส่งจุดที่ 34 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง อุดรธานี
รถขนส่งจุดที่ 35 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง อุบลราชธานี
รถขนส่งจุดที่ 36 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง อำนาจเจริญ
รถขนส่งจุดที่ 37 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง กำแพงเพชร
รถขนส่งจุดที่ 38 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ชัยนาท
รถขนส่งจุดที่ 39 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง นครนายก
รถขนส่งจุดที่ 40 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง นครปฐม
รถขนส่งจุดที่ 41 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง นครสวรรค์
รถขนส่งจุดที่ 42 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง นนทบุรี
รถขนส่งจุดที่ 43 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ปทุมธานี
รถขนส่งจุดที่ 44 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง พระนครศรีอยุธยา
รถขนส่งจุดที่ 45 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง พิจิตร
รถขนส่งจุดที่ 46 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง พิษณุโลก
รถขนส่งจุดที่ 47 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง เพชรบูรณ์
รถขนส่งจุดที่ 48 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ลพบุรี
รถขนส่งจุดที่ 49 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง สมุทรปราการ
รถขนส่งจุดที่ 50 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง สมุทรสงคราม
รถขนส่งจุดที่ 51 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง สมุทรสาคร
รถขนส่งจุดที่ 52 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง สิงห์บุรี
รถขนส่งจุดที่ 53 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง สุโขทัย
รถขนส่งจุดที่ 54 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง สุพรรณบุรี
รถขนส่งจุดที่ 55 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง สระบุรี
รถขนส่งจุดที่ 56 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง อ่างทอง
รถขนส่งจุดที่ 57 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง อุทัยธานี
รถขนส่งจุดที่ 58 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง กระบี่
รถขนส่งจุดที่ 59 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ชุมพร
รถขนส่งจุดที่ 60 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ตรัง
รถขนส่งจุดที่ 61 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง นราธิวาส
รถขนส่งจุดที่ 63 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ปัตตานี
รถขนส่งจุดที่ 64 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง พังงา
รถขนส่งจุดที่ 65 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง พัทลุง
รถขนส่งจุดที่ 66 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง เก็ต
รถขนส่งจุดที่ 67 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ระนอง
รถขนส่งจุดที่ 68 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง สตูล
รถขนส่งจุดที่ 69 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง งขลา
รถขนส่งจุดที่ 70 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง สุราษฎร์ธานี
รถขนส่งจุดที่ 71 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ยะลา
รถขนส่งจุดที่ 72 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง กาญจนบุรี
รถขนส่งจุดที่ 73 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ตาก
รถขนส่งจุดที่ 74 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ประจวบคีรีขันธ์
รถขนส่งจุดที่ 75 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง เพชรบุรี
รถขนส่งจุดที่ 76 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ราชบุรี
แผนที่ท่องเที่ยวจังหวัด จันทบุรี
รถขนส่งจุดที่ 1 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง เชียงราย
รถขนส่งจุดที่ 2 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง เชียงใหม่
รถขนส่งจุดที่ 3 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง น่าน
รถขนส่งจุดที่ 4 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง พะเยา
รถขนส่งจุดที่ 5 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง แพร่
รถขนส่งจุดที่ 6 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง แม่ฮ่องสอน
รถขนส่งจุดที่ 7 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ลำปาง
รถขนส่งจุดที่ 8 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ลำพูน
รถขนส่งจุดที่ 9 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง อุตรดิตถ์
รถขนส่งจุดที่ 10 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง จันทบุรี
รถขนส่งจุดที่ 11 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ฉะเชิงเทรา
รถขนส่งจุดที่ 12 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ชลบุรี
รถขนส่งจุดที่ 13 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ตราด
รถขนส่งจุดที่ 14 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ปราจีนบุรี
รถขนส่งจุดที่ 15 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ระยอง
รถขนส่งจุดที่ 16 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง สระแก้ว
รถขนส่งจุดที่ 17 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง กาฬสินธุ์
รถขนส่งจุดที่ 18 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ขอนแก่น
รถขนส่งจุดที่ 19 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ชัยภูมิ
รถขนส่งจุดที่ 20 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง นครพนม
รถขนส่งจุดที่ 21 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง นครราชสีมา
รถขนส่งจุดที่ 22 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง บึงกาฬ
รถขนส่งจุดที่ 23 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง บุรีรัมย์
รถขนส่งจุดที่ 24 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง มหาสารคาม
รถขนส่งจุดที่ 25 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง มุกดาหาร
รถขนส่งจุดที่ 26 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ยโสธร
รถขนส่งจุดที่ 27 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ร้อยเอ็ด
รถขนส่งจุดที่ 28 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง เลย
รถขนส่งจุดที่ 29 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง สกลนคร
รถขนส่งจุดที่ 30 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง สุรินทร์
รถขนส่งจุดที่ 31 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ศรีสะเกษ
รถขนส่งจุดที่ 32 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง หนองคาย
รถขนส่งจุดที่ 33 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง หนองบัวลำภู
รถขนส่งจุดที่ 34 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง อุดรธานี
รถขนส่งจุดที่ 35 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง อุบลราชธานี
รถขนส่งจุดที่ 36 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง อำนาจเจริญ
รถขนส่งจุดที่ 37 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง กำแพงเพชร
รถขนส่งจุดที่ 38 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ชัยนาท
รถขนส่งจุดที่ 39 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง นครนายก
รถขนส่งจุดที่ 40 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง นครปฐม
รถขนส่งจุดที่ 41 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง นครสวรรค์
รถขนส่งจุดที่ 42 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง นนทบุรี
รถขนส่งจุดที่ 43 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ปทุมธานี
รถขนส่งจุดที่ 44 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง พระนครศรีอยุธยา
รถขนส่งจุดที่ 45 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง พิจิตร
รถขนส่งจุดที่ 46 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง พิษณุโลก
รถขนส่งจุดที่ 47 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง เพชรบูรณ์
รถขนส่งจุดที่ 48 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ลพบุรี
รถขนส่งจุดที่ 49 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง สมุทรปราการ
รถขนส่งจุดที่ 50 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง สมุทรสงคราม
รถขนส่งจุดที่ 51 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง สมุทรสาคร
รถขนส่งจุดที่ 52 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง สิงห์บุรี
รถขนส่งจุดที่ 53 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง สุโขทัย
รถขนส่งจุดที่ 54 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง สุพรรณบุรี
รถขนส่งจุดที่ 55 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง สระบุรี
รถขนส่งจุดที่ 56 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง อ่างทอง
รถขนส่งจุดที่ 57 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง อุทัยธานี
รถขนส่งจุดที่ 58 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง กระบี่
รถขนส่งจุดที่ 59 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ชุมพร
รถขนส่งจุดที่ 60 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ตรัง
รถขนส่งจุดที่ 61 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง นราธิวาส
รถขนส่งจุดที่ 63 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ปัตตานี
รถขนส่งจุดที่ 64 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง พังงา
รถขนส่งจุดที่ 65 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง พัทลุง
รถขนส่งจุดที่ 66 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง เก็ต
รถขนส่งจุดที่ 67 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ระนอง
รถขนส่งจุดที่ 68 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง สตูล
รถขนส่งจุดที่ 69 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง งขลา
รถขนส่งจุดที่ 70 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง สุราษฎร์ธานี
รถขนส่งจุดที่ 71 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ยะลา
รถขนส่งจุดที่ 72 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง กาญจนบุรี
รถขนส่งจุดที่ 73 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ตาก
รถขนส่งจุดที่ 74 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ประจวบคีรีขันธ์
รถขนส่งจุดที่ 75 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง เพชรบุรี
รถขนส่งจุดที่ 76 รถรับจ้างขนส่ง จันทบุรี ไปถึง ราชบุรี
แผนที่ท่องเที่ยวจังหวัด จันทบุรี
แผนที่ท่องเที่ยวจังหวัด จันทบุรี http0817684439.blogspot.com |
แผนที่ตัวเมือง จันทบุรี http0817684439.blogspot.com |
จันทบุรี เป็นจังหวัดทางชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย มีเนื้อที่ 6,388 ตารางกิโลเมตร สภาพภูมิประเทศประกอบไปด้วยป่าไม้ ภูเขา ที่ราบสูง ที่ราบลุ่มน้ำ และที่ราบชายฝั่งทะเล ในส่วนของพื้นที่ป่าไม้มีประมาณ 3 ใน 10 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด[3] มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดฉะเชิงเทรา และสระแก้วทางทิศเหนือ ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดตราดและประเทศกัมพูชา ทิศใต้ติดกับอ่าวไทย และทิศตะวันตกติดกับจังหวัดระยองและชลบุรี อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 245 กิโลเมตร ประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดจันทบุรีอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของจังหวัด[4] โดยอาชีพที่ประชากรในจังหวัดนิยมประกอบอาชีพมากที่สุดคือเกษตรกรรมและประมง[5] และศาสนาที่มีการนับถือมากที่สุดในจังหวัดคือศาสนาพุทธ
จันทบุรีเป็นเมืองที่มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ก่อตั้งโดยชนชาติชอง จังหวัดจันทบุรีเป็นเมืองที่มีความสำคัญต่อประวัติศาสตร์ไทยอยู่ 3 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีใช้จังหวัดจันทบุรีในการรวบรวมไพร่พลและเสบียงอาหาร ครั้งที่ 2 เกิดสงครามอานัมสยามยุทธในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวและครั้งที่ 3 ฝรั่งเศสยึดเมืองจันทบุรีเป็นเมืองประกันหลังจากเกิดวิกฤตการณ์ปากน้ำในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้วยความที่จังหวัดจันทบุรีมีความสำคัญต่อเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์หลายเหตุการณ์และมีความหลากหลายทางภูมิประเทศ ส่งผลให้จังหวัดจันทบุรีเป็นจังหวัดที่มีแหล่งท่องเที่ยวทั้งทางธรรมชาติและทางวัฒนธรรมหลายแห่ง
ประวัติและตำนาน
จันทบุรีเป็นเมืองเก่า จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์เชื่อกันว่ามีอายุไม่ต่ำกว่า 1,000 ปี สร้างขึ้นโดยชนชาติ ชอง บางตำนานก็ว่าสร้างโดยชนชาติ ขอม หัวเมืองเดิมตามศิลาจารึกเรียกว่า "ควนคราบุรี" ชาวพื้นเมืองเรียกว่า "เมืองกาไว" ตามชื่อผู้ปกครอง เมืองจันทบุรีเดิมตั้งอยู่บริเวณหน้าเขาสระบาป มีชนพื้นเมืองเดิมอาศัยอยู่เรียกว่า ชาวชอง มีภาษาพูดเป็นภาษาของตนเอง ซึ่งแตกต่างจากภาษาไทยและภาษาเขมร เจ้าผู้ครองเมืองที่ยิ่งใหญ่ในตำนานคือ พระเจ้าพรหมทัต (พ.ศ. 1349-1399) ครั้นถึงปี พ.ศ. 1800 ได้มีการย้ายถิ่นฐานมาสร้างเมืองใหม่ที่บ้านหัววัง ตำบลพุงทลาย ซึ่งอยู่ใกล้กับแม่น้ำจันทบุรีในปัจจุบัน
ต่อมาปี พ.ศ. 2200 ได้ย้ายมาสร้างเมืองใหม่ที่บ้านลุ่ม อยู่ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำจันทบุรี ในปี พ.ศ. 2310 หลังจากกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชได้เข้ายึดเมืองจันทบุรีเพื่อใช้เป็นแหล่งสะสมเสบียงอาหารและรวบรวมกำลังพลในการกอบกู้กรุงศรีอยุธยาคืนจากพม่า ในคราวนั้นเจ้าเมืองจันทบุรีนามว่าเจ้าขรัวหลาน(ยศเจ้าเมืองจันทบุรีเดิม) ชึ่งราษฎรเลือกขึ้นเมื่อเสียกรุงศรีอยุธยา โดยหวังว่าพระยาจันทบูร จะช่วยปกป้องรักษาเมืองจันทบุรีให้อยู่รอดสืบต่อไป ได้ต่อต้านกองทัพของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โดยได้พยายามทำทุกวิถีทางเพื่อให้เมืองจันทบุรีอยู่รอดเป็นอิสระ รักษาแผ่นดินไว้ให้ชนชาติบูรพา แต่สุดท้ายก็ต้องปราชัยพ่ายแพ้แก่กองทัพของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โดยพระองค์ทรงใช้พญาช้างศึกบุกชนกำแพงเมืองจนสามารถเข้าตีเมืองเอาไว้ได้สำเร็จ เจ้าเมืองจันทบุรีได้หลบภัยไปอาณาจักรกัมพูชาจนถึงแก่อสัญกรรม เมืองจันทบุรีจึงตกเป็นของสยามนับแต่นั้นเป็นต้นมา
ต่อมาในปี พ.ศ. 2436 ฝรั่งเศสได้เข้ายึดเมืองจันทบุรีไว้นานถึง 11 ปี[6] เนื่องจากสยามมีข้อพิพาทเรื่องดินแดนฝั่งขวาของแม่น้ำโขง โดยฝรั่งเศสกล่าวหาว่าสยามล่วงล้ำดินแดนอาณานิคมของฝรั่งเศส ส่วนสยามได้อ้างว่าดินแดนดังกล่าวเป็นของสยาม ฝ่ายสยามเห็นว่าจะต่อสู้ทางทหารฝรั่งเศสไม่ได้จึงขอเปิดการเจรจา ทางฝรั่งเศสยื่นคำขาด โดยฝ่ายสยามต้องยอมยกดินแดนที่เป็นข้อพิพาทรวมทั้งเกาะทั้งหมดในลำน้ำโขง พร้อมเงินอีกหนึ่งล้านฟรังก์และสามล้านบาท โดยจนกว่าจะดำเนินการเสร็จฝรังเศสจะยึดเมืองจันทบุรีไว้ก่อน แต่เมื่อทางสยามดำเนินการเสร็จ ฝรั่งเศสไม่ได้ถอนกำลังออก ฝ่ายสยามจึงต้องยอมยกเมืองตราดและเมืองประจันตคีรีเขตร์ (เกาะกง) เพื่อแลกกับเมืองจันทบุรี และอีกหนึ่งปีต่อมาสยามยอมยกเมืองพระตะบอง เสียมราฐ และศรีโสภณ เพื่อแลกเมืองตราดคืนมา แต่ฝรั่งเศสไม่ได้คืนเมืองประจันตคีรีเขตร์แต่อย่างใด ปัจจุบันเมืองประจันตคีรีเขตร์จึงอยู่ในอาณาเขตประเทศกัมพูชา ต่อมามีการจัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาคเป็นแบบมณฑลเทศาภิบาล จัดตั้งมณฑลจันทบุรี โดยมีเมืองจันทบุรี ระยอง และตราดอยู่ในเขตการปกครองจนถึงปี พ.ศ. 2476 ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย จึงยกเลิกมณฑลเทศาภิบาลและได้จัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินใหม่ โดยแบ่งออกเป็นจังหวัดและอำเภอ ดังนั้นเมืองจันทบุรีจึงมีฐานะเป็นจังหวัดจนถึงปัจจุบันนี้
ทำเนียบรายพระนามและรายนามผู้ว่าราชการจังหวัดจันทบุรี
รายพระนามและรายนามผู้ว่าราชการจังหวัดจันทบุรี[7][8] | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
พระนาม/ชื่อ | เข้ารับตำแหน่ง | สิ้นสุดการดำรงตำแหน่ง | |||||||
1. พระภิรมย์ฯ | ไม่มีข้อมูล | ไม่มีข้อมูล | |||||||
2. พระจันทบุรีศรีสมุทร์เขตต์ | ไม่มีข้อมูล | ไม่มีข้อมูล | |||||||
3. หม่อมเจ้านพมาศ นวรัตน์ | พ.ศ. 2459 | พ.ศ. 2469 | |||||||
4. พระยามานิตย์กุลพัทธ | พ.ศ. 2469 | ธันวาคม พ.ศ. 2471 | |||||||
5. พระพิสิษฏสุทธเลขา | 17 ธันวาคม พ.ศ. 2471 | 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2477 | |||||||
6. พระนิกรบดี | 1 มิถุนายน พ.ศ. 2477 | 2 ธันวาคม พ.ศ. 2479 | |||||||
7. ขุนประสงค์สุขการี | 2 ธันวาคม พ.ศ. 2479 | 1 ธันวาคม พ.ศ. 2484 | |||||||
8. หลวงอรรถสิทธิสุนทร (ผวน ทองสยาม) | 2 ธันวาคม พ.ศ. 2484 | 2 ตุลาคม พ.ศ. 2485 | |||||||
9. หลวงอรรถเกษมเกษา (สวิง อรรถเกษม) | 3 ตุลาคม พ.ศ. 2485 | 1 มกราคม พ.ศ. 2487 | |||||||
10. ขุนรัฐวุฒิวิจารณ์ (สุวงศ์ รัฐวุฒิวิจารณ์) | 11 มกราคม พ.ศ. 2487 | 13 มิถุนายน พ.ศ. 2489 | |||||||
11. นายชุบ พิเศษนครกิจ | 7 ตุลาคม พ.ศ. 2489 | 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2492 | |||||||
12. นายถนอม วิบูลมงคล | 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2492 | 7 มกราคม พ.ศ. 2495 | |||||||
13. ขุนคำนวณวิจิตร (เชย บุนนาค) | 8 มกราคม พ.ศ. 2495 | 2 เมษายน พ.ศ. 2496 | |||||||
14. ขุนวรคุตตคณารักษ์ | 3 เมษายน พ.ศ. 2496 | 18 มีนาคม พ.ศ. 2499 | |||||||
15. นายผาด นาคพิน | 19 มีนาคม พ.ศ. 2499 | 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2501 | |||||||
16. หม่อมเจ้าทองคำเปลว ทองใหญ่ | 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2501 | 28 กันยายน พ.ศ. 2507 | |||||||
17. นายส่ง เหล่าสุนทร | 29 กันยายน พ.ศ. 2507 | 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2512 | |||||||
18. จ.ต.ต. ชั้น สุวรรณทรรภ | 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2512 | 25 ธันวาคม พ.ศ. 2514 | |||||||
19. นายวิชิต ศุขะวิริยะ | 26 ธันวาคม พ.ศ. 2514 | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2516 | |||||||
20. นายบุญช่วย ศรีสารคาม | 7 ธันวาคม พ.ศ. 2516 | 30 กันยายน พ.ศ. 2519 | |||||||
21. น.อ.จำลอง ประเสริฐยิ่ง ร.น. | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2519 | 30 กันยายน พ.ศ. 2520 | |||||||
22. นายประกิต อุตตะโมต | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2520 | 14 ตุลาคม พ.ศ. 2521 | |||||||
23. นายพิบูลย์ ธุรภาคพิบูล | 15 ตุลาคม พ.ศ. 2521 | 30 กันยายน พ.ศ. 2523 | |||||||
24. นายบุญนาค สายสว่าง | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2523 | 30 กันยายน พ.ศ. 2528 | |||||||
25. นายสมพงศ์ พันธ์สุวรรณ | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2528 | 30 กันยายน พ.ศ. 2532 | |||||||
26. นายปรีดา มุตตาหารัช | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2532 | 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2533 | |||||||
27. เรือตรี สุกรี รักษ์ศรีทอง | 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2533 | 30 กันยายน พ.ศ. 2534 | |||||||
28. นายวิมล พวงทอง | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2534 | 30 กันยายน พ.ศ. 2536 | |||||||
29. นายอมร อนันตชัย | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2536 | 30 กันยายน พ.ศ. 2541 | |||||||
30. ประพันธ์ ชลวีระวงศ์ | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2541 | 30 กันยายน พ.ศ. 2543 | |||||||
31. นายอัครพงศ์ พยัคฆันตร | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2543 | 30 กันยายน พ.ศ. 2544 | |||||||
32. นายวิทยา ปิณฑะแพทย์ | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2544 | 30 กันยายน พ.ศ. 2547 | |||||||
33. นายพนัส แก้วลาย | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2547 | 30 กันยายน พ.ศ. 2550 | |||||||
34. นายประจักษ์ สุวรรณภักดี | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2550 | 30 กันยายน พ.ศ. 2551 | |||||||
35. นายพูลศักดิ์ ประณุทนรพาล | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2551 | 30 กันยายน พ.ศ. 2553 | |||||||
36. นายธีรเทพ ศรียะพันธ์ | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553 | 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 | |||||||
37. นายวิชิต ชาตไพสิฐ | 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 | 28 กันยายน พ.ศ. 2555 | |||||||
38. นายสุรชัย ขันอาสา | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 | 30 กันยายน พ.ศ. 2556 | |||||||
39. นายเกรียงเดช เข็มทอง | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2556 | 1 มิถุนายน พ.ศ. 2557 | |||||||
40. นายสามารถ ลอยฟ้า | 2 มิถุนายน พ.ศ. 2557 | 30 กันยายน พ.ศ. 2558 | |||||||
41. นายสมศักดิ์ ปะริสุทโธ เหมทานนท์ | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 | 28 มีนาคม พ.ศ. 2559 [9] | |||||||
42. นายวิทูรัช ศรีนาม | 29 มีนาคม พ.ศ. 2559 21 เมษายน พ.ศ. 2559 [10] | 22 เมษายน พ.ศ. 2559 [11] ปัจจุบัน |
ภูมิศาสตร์
จังหวัดจันทบุรีตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกของประเทศไทย โดยอยู่ห่างกรุงเทพมหานครเมืองหลวงของประเทศไปทางตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 245 กิโลเมตร[12] จังหวัดจันทบุรีมีพื้นที่ทั้งหมด 6,338 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 16.6 ของพื้นที่ภาคตะวันออก และเท่ากับร้อยละ 1.8 ของพื้นที่ทั้งประเทศ โดยพื้นที่ของจังหวัดเป็นที่ราบชายฝั่งทะเล ที่ราบสูงและภูเขา ภูมิอากาศของจังหวัดมีลักษณะแบบมรสุมเขตร้อน[13]จุดสูงสุดของจังหวัดอยู่ที่ยอดเขาสอยดาวใต้ ซึ่งเป็นยอดเขาที่มีความสูงที่สุดในภาคตะวันออก โดยมีความสูง 1,675 เมตร[14]
ลักษณะภูมิประเทศ
จังหวัดจันทบุรีมีลักษณะภูมิประเทศอยู่ 3 ลักษณะ คือ 1.ภูเขาและเนินสูง 2.ที่ราบสูงและที่ราบเชิงเขา 3.ที่ราบลุ่มแม่น้ำและชายฝั่งทะเล โดยในบริเวณทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ทิศเหนือและทิศตะวันออกของจังหวัดจะเป็นเขตภูเขาสูง เช่น เทือกเขาบรรทัด เทือกเขาจันทบุรี เป็นต้น บริเวณนี้เป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำลำธารหลายสาย รวมถึงเป็นแนวที่กั้นเขตแดนระหว่างจังหวัดจันทบุรีและจังหวัดระยอง จังหวัดฉะเชิงเทราและจังหวัดสระแก้ว[14][15] ในส่วนของที่ราบสูงและที่ราบเชิงเขานั้นจะตั้งอยู่ในเขตอำเภอสอยดาว อำเภอโป่งน้ำร้อน พื้นที่ตอนกลางของอำเภอขลุง รวมไปถึงทางตะวันออกของอำเภอมะขาม อำเภอแก่งหางแมว อำเภอเขาคิชฌกูฏ และทางตอนเหนือของอำเภอท่าใหม่[15] โดยบริเวณนี้ส่วนใหญ่จะมีลักษณะเป็นที่ราบลูกคลื่น[16] ในส่วนพื้นที่สุดท้ายของจังหวัดมีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำและชายฝั่งทะเล โดยพื้นที่เหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ที่มีแม่น้ำไหลผ่าน เช่น ที่ราบลุ่มแม่น้ำคลองโตนด ที่ราบลุ่มแม่น้ำพังราด ที่ราบลุ่มแม่น้ำจันทบุรีและที่ราบลุ่มแม่น้ำเวฬุ เป็นต้น โดยส่วนใหญ่แล้วพื้นที่เหล่านี้จะอยู่ในเขตอำเภอนายายอาม เมืองจันทบุรีและขลุง รวมถึงพื้นที่บางส่วนของอำเภอแก่งหางแมว เขาคิชฌกูฏและอำเภอท่าใหม่[15] สำหรับพื้นที่ชายฝั่งทะเลมักมีลักษณะเป็นที่ราบชายฝั่งทะเลแคบ ๆ มีการทับถมของตะกอนทราย ที่ราบชายฝั่งทะเลบางแห่งอยู่ใกล้ปากแม่น้ำส่งผลให้บริเวณนั้นมีดินโคลนผสมด้วย บริเวณที่พบที่ราบชายฝั่งทะเลได้แก่ พื้นที่ทางตอนใต้ของอำเภอนายายอาม อำเภอท่าใหม่ อำเภอแหลมสิงห์ และอำเภอขลุง[16]
ลักษณะภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไปจังหวัดจันทบุรีตั้งอยู่ในเขตมรสุมเขตร้อน[13] โดยได้รับฝนจากอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้[17] มีฝนตกชุกติดต่อกันประมาณ 6 เดือนต่อปี โดยเดือนมิถุนายนถึงเดือนสิงหาคมเป็นเดือนที่มีปริมาณน้ำฝนสูงที่สุด ซึ่งอาจมีปริมาณน้ำฝนสูงถึง 500 มิลลิเมตรต่อเดือน[18] จังหวัดจันทบุรีมี 3 ฤดูกาลคือฤดูฝน (พฤษภาคม - ตุลาคม) ฤดูหนาว (ตุลาคม - มกราคม) และฤดูร้อน (กุมภาพันธ์ - เมษายน)[19] โดยที่ฤดูหนาวจะมีอากาศหนาวเย็นช้ากว่าภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือของประเทศ[20]
จังหวัดจันทบุรีมีอุณหภูมิเฉลี่ย 23 - 31 องศาเซลเซียสในแต่ละปี โดยที่อุณหภูมิในแต่ละฤดูของจังหวัดจะไม่มีความแตกต่างกันมากนัก อันเนื่องมาจากการตั้งอยู่ใกล้กับทะเล สำหรับอุณหภูมิในแต่ละฤดูนั้น ฤดูฝนมีอุณหภูมิระหว่าง 24 - 30 องศาเซลเซียส ฤดูหนาวมีอุณหภูมิอยู่ระหว่าง 22 - 31 องศาเซลเซียส ส่วนในฤดูร้อนมีอุณหภูมิระหว่าง 23 - 33 องศาเซลเซียส[18]
[ซ่อน]ข้อมูลภูมิอากาศของจันทบุรี | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เดือน | ม.ค. | ก.พ. | มี.ค. | เม.ย. | พ.ค. | มิ.ย. | ก.ค. | ส.ค. | ก.ย. | ต.ค. | พ.ย. | ธ.ค. | ทั้งปี |
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) | 31.9 (89.4) | 32.2 (90) | 32.6 (90.7) | 33.3 (91.9) | 32.2 (90) | 30.9 (87.6) | 30.6 (87.1) | 30.4 (86.7) | 30.7 (87.3) | 31.5 (88.7) | 31.4 (88.5) | 31.2 (88.2) | 31.58 (88.84) |
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) | 20.3 (68.5) | 22.0 (71.6) | 23.2 (73.8) | 24.1 (75.4) | 24.6 (76.3) | 24.7 (76.5) | 24.5 (76.1) | 24.4 (75.9) | 24.0 (75.2) | 23.4 (74.1) | 22.4 (72.3) | 20.6 (69.1) | 23.18 (73.73) |
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) | 13.3 (0.524) | 45.0 (1.772) | 55.1 (2.169) | 111.1 (4.374) | 355.5 (13.996) | 513.0 (20.197) | 439.6 (17.307) | 513.7 (20.224) | 475.5 (18.72) | 279.6 (11.008) | 61.2 (2.409) | 12.4 (0.488) | 2,875 (113.189) |
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย | 2 | 4 | 6 | 10 | 22 | 25 | 24 | 26 | 25 | 19 | 6 | 2 | 171 |
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด | 282.1 | 243.6 | 248.0 | 240.0 | 182.9 | 132.0 | 139.5 | 127.1 | 129.0 | 189.1 | 243.0 | 282.1 | 2,438.4 |
แหล่งที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา |
ทรัพยากรดินและน้ำ
ทรัพยากรดินในจังหวัดจันทบุรีมีความอุดมสมบูรณ์สูงมาก ซึ่งส่วนใหญ่แล้วเป็นดินที่เกิดจากการสลายตัวของหินปูน ทำให้ดินมีความเป็นด่างเหมาะแก่การปลูกผลไม้อันเป็นหนึ่งในพืชเศรษฐกิจของจังหวัดจันทบุรี[21] ดินมีลักษณะเป็นดินตื้นถึงลึกอันเนื่องมาจากสภาพภูมิประเทศ โดยดินส่วนมากของจังหวัดจันทบุรีเป็นดินที่สามารถระบายน้ำออกได้ดีถึงดีมาก[22] อย่างไรก็ตามจังหวัดจันทบุรีมีพื้นที่ดินที่ไม่เหมาะสมกับการทำเกษตรประมาณ 3,000 ตารางกิโลเมตร โดยปัญหาทรัพยากรดินที่พบมากที่สุดคือดินเค็มในบริเวณชายฝั่งทะเล ดินตื้นและดินในพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน[23]
ในส่วนของทรัพยากรน้ำในจังหวัดจันทบุรีนั้น แม้ว่าจังหวัดจันทบุรีจะอยู่ในพื้นที่ทึ่มีฝนตกชุก แต่จันทบุรียังคงประสบกับปัญหาภาวะความแห้งแล้งในพื้นที่ของจังหวัดเนื่องจากแม่น้ำทั้งหมดในจังหวัดเป็นเพียงแม่น้ำสายสั้น ๆ และมีขนาดเล็ก ยกตัวอย่างเช่น แม่น้ำพังราด (30 กิโลเมตร) แม่น้ำวังโตนด (6 กิโลเมตร) แม่น้ำเวฬุ (88 กิโลเมตร)และแม่น้ำจันทบุรี (123 กิโลเมตร)[16] เป็นต้น ส่งผลให้น้ำในแม่น้ำไหลลงสู่อ่าวไทยอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้หากมีปริมาณฝนในจังหวัดจันทบุรีมากเกินไป ปริมาณน้ำอาจจะเอ่อล้นตลิ่งเข้าท่วมพื้นที่ต่าง ๆ ได้อีกด้วย จึงมีการสร้างอ่างเก็บน้ำและเขื่อนเป็นจำนวนมากเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยเขื่อนและอ่างเก็บน้ำที่สำคัญคือ เขื่อนคีรีธาร อ่างเก็บน้ำคลองศาลทราย เขื่อนพลวงและเขื่อนทุ่งเพล[24]
สัตว์ป่าและพันธุ์พืช
จังหวัดจันทบุรีมีพื้นที่ป่าไม้มากที่สุดในภาคตะวันออก โดยคิดเป็น 1 ใน 4 ของจำนวนพื้นที่ป่าไม้ทั้งภาค[25] อย่างไรก็ตามหากเปรียบเทียบในอดีตจะพบว่าจังหวัดจันทบุรีสูญเสียพื้นที่ป่าไม้ไปเป็นจำนวนมาก เพราะเดิมทีจังหวัดจันทบุรีมีเนื้อที่ป่าไม้มากกว่าร้อยละ 50 ของจังหวัด[26] โดยสาเหตุของการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้ส่วนใหญ่เกิดจากการลักลอบตัดไม้ การบุกรุกของราษฎรและการขาดการเข้มงวดกวดขันของเจ้าหน้าที่[27] ในปัจจุบันมีการประกาศให้พื้นที่ป่าไม้ของจังหวัดจันทบุรีขึ้นเป็นอุทยานแห่งชาติ 3 แห่งคือ อุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏ อุทยานแห่งชาติเขาสิบห้าชั้น และอุทยานแห่งชาติน้ำตกพลิ้ว[28] วนอุทยานแห่งชาติ 1 แห่งคือ วนอุทยานแห่งชาติแหลมสิงห์[29] และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า 3 แห่งคือ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาสอยดาว เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างฤๅไน และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าคลองเครือหวาย[30]
สำหรับพืชที่ค้นพบในจังหวัดจันทบุรีมีอยู่หลายประเภท ที่สำคัญคือสำรองและจัน ซึ่งถือเป็นต้นไม้ประจำจังหวัดของจันทบุรี ในส่วนของพืชชนิดอื่น ๆ ที่สำคัญของจังหวัด ได้แก่ สอยดาว ชะมวง กฤษณา กระวานและเหลืองจันทบูรอันเป็นดอกไม้ประจำจังหวัด[3][31] นอกจากนี้แล้วในจังหวัดจันทบุรียังค้นพบพืชเฉพาะถิ่นอีกด้วย ยกตัวอย่างเช่น เนตรม่วง (Microchirita purpurea) ซึ่งพบได้เฉพาะในเขตอำเภอแก่งหางแมว จังหวัดจันทบุรีเพียงแห่งเดียวเท่านั้น[32] เป็นต้น
สำหรับในส่วนของสัตว์ป่าในจังหวัดจันทบุรีนั้นพบว่ามีสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 122 ชนิด นก 276 ชนิด สัตว์เลื้อยคลานไม่น้อยกว่า 88 ชนิด สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ 29 ชนิดและปลาน้ำจืดอีกกว่า 47 ชนิด[33] จึงนับได้ว่าจังหวัดจันทบุรีเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตค่อนข้างมาก ในจำนวนสัตว์เหล่านี้มีสัตว์ที่สำคัญ ยกตัวอย่างเช่น กบอกหนาม นกกระทาดงจันทบุรี นกแต้วแล้วใหญ่หัวสีน้ำเงินและนกสาลิกาเขียวหางสั้น เป็นต้น ซึ่งสัตว์เหล่านี้เป็นสัตว์ที่สามารถพบได้ในบริเวณจังหวัดจันทบุรีเพียงแห่งเดียวในประเทศไทยเท่านั้น[33][34] นอกจากนี้ยังมีสัตว์ที่สำคัญอีกชนิด คือ ปลาบู่มหิดล ที่มีการค้นพบในจังหวัดจันทบุรี แต่มีกระจายตัวอยู่ในจังหวัดระนองและจังหวัดภูเก็ตด้วย[35]
การเมืองการปกครอง
จังหวัดจันทบุรีมีรูปแบบการปกครองทั้งในรูปแบบการแบ่งอำนาจและการกระจายอำนาจ โดยในปัจจุบันจังหวัดจันทบุรีมีการแบ่งอำนาจออกเป็น 10 อำเภอและมีจำนวนเทศบาลตามหลักการกระจายอำนาจ 45 เทศบาล 1 องค์การบริหารส่วนจังหวัดและ 34 องค์การบริหารส่วนตำบล ในส่วนของการเมืองระดับชาตินั้น จังหวัดจันทบุรีมีเขตการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3 เขตและเขตการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา 1 เขต
หน่วยการปกครอง
1. อำเภอเมืองจันทบุรี | 2. อำเภอขลุง | 3. อำเภอท่าใหม่ | 4. อำเภอโป่งน้ำร้อน | 5. อำเภอมะขาม |
---|---|---|---|---|
1. ตำบลตลาด
2. ตำบลวัดใหม่ 3. ตำบลคลองนารายณ์ 4. ตำบลเกาะขวาง 5. ตำบลคมบาง 6. ตำบลท่าช้าง 7. ตำบลจันทนิมิต 8. ตำบลบางกะจะ 9. ตำบลแสลง 10. ตำบลหนองบัว 11. ตำบลพลับพลา |
1. ตำบลขลุง
2. ตำบลบ่อ 3. ตำบลเกวียนหัก 4. ตำบลตะปอน 5. ตำบลบางชัน 6. ตำบลวันยาว 7. ตำบลซึ้ง 8. ตำบลมาบไพ 9. ตำบลวังสรรพรส 10. ตำบลตรอกนอง 11. ตำบลตกพรม 12. ตำบลบ่อเวฬุ |
1. ตำบลท่าใหม่
2. ตำบลยายร้า 3. ตำบลสีพยา 4. ตำบลบ่อพุ 5. ตำบลพลอยแหวน 6. ตำบลเขาวัว 7. ตำบลเขาบายศรี 8. ตำบลสองพี่น้อง 9. ตำบลทุ่งเบญจา 10. ตำบลรำพัน 11. ตำบลโขมง 12. ตำบลตะกาดเง้า 13. ตำบลคลองขุด 14. ตำบลเขาแก้ว |
1. ตำบลทับไทร
2. ตำบลโป่งน้ำร้อน 3. ตำบลหนองตาคง 4. ตำบลเทพนิมิต 5. ตำบลคลองใหญ่ |
1. ตำบลมะขาม
2. ตำบลท่าหลวง 3. ตำบลปัถวี 4. ตำบลวังแซ้ม 5. ตำบลฉมัน 6. ตำบลอ่างคีรี |
6. อำเภอแหลมสิงห์ | 7. อำเภอสอยดาว | 8. อำเภอแก่งหางแมว | 9. อำเภอนายายอาม | 10. อำเภอเขาคิชฌกูฏ |
|
|
|
|
|
การปกครองส่วนท้องถิ่น
ดูเพิ่มเติมที่: เทศบาลเมือง และ รายชื่อเทศบาลตำบลในประเทศไทย
จังหวัดจันทบุรีมีหน่วยการปกครองในรูปแบบกระจายอำนาจทั้งสิ้น 80 แห่ง แบ่งออกเป็น องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลเมือง 5 แห่ง เทศบาลตำบล 40 แห่งและองค์การบริหารส่วนตำบล 34 แห่ง[38][39] ในส่วนขององค์การบริหารส่วนจังหวัดจันทบุรีได้รับการจัดตั้งตามพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 โดยมีขอบเขตครอบคลุมพื้นที่ทั้งจังหวัดจันทบุรี[40] โดยมีหน้าที่หลักในการให้บริการสาธารณะแก่ประชาชนในพื้นที่ รวมถึงประสานและร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ในการวางแผนพัฒนาจังหวัด[41] ปัจจุบันมีนายธนภณ กิจกาญจน์ เป็นนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดจันทบุรีคนปัจจุบัน[42] สำหรับหน่วยการปกครองท้องถิ่นในระดับเทศบาลนั้นเริ่มขึ้นครั้งแรกในเขตอำเภอเมืองจันทบุรี โดยมีการจัดตั้งสุขาภิบาลจันทบุรีขึ้นในปี พ.ศ. 2451[43] ซึ่งต่อมาได้มีการยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองจันทบุรีในปี พ.ศ. 2478[44]
การเมืองระดับชาติ
ดูเพิ่มเติมที่: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดจันทบุรี
ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเมืองระดับชาติของจังหวัดจันทบุรีนั้น คณะกรรมการการเลือกตั้งได้กำหนดให้จังหวัดจันทบุรีมีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3 เขตเลือกตั้ง[45] โดยเขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองจันทบุรีและอำเภอแหลมสิงห์ เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบไปด้วยอำเภอท่าใหม่ อำเภอนายายอาม อำเภอแก่งหางแมวและอำเภอเขาคิชฌกูฏและเขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบไปด้วยอำเภอขลุง อำเภอมะขาม อำเภอโป่งน้ำร้อนแล้วก็อำเภอสอยดาว[46] สำหรับจำนวนสมาชิกวุฒิสภาของจังหวัดจันทบุรีในอดีตมี 2 คน อย่างไรก็ตามตั้งแต่ พ.ศ. 2551 เป็นต้นมา จังหวัดจันทบุรีสามารถมีสมาชิกวุฒิสภาได้ 1 คนเท่านั้น[47]
เศรษฐกิจ
จังหวัดจันทบุรีเป็นจังหวัดที่มีเกษตรกรรมเป็นพื้นฐานของเศรษฐกิจ โดยผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในจังหวัดจันทบุรีเกินครึ่งหนึ่งมาจากภาคเกษตรกรรม รองลงมาเป็นอุตสาหกรรม การก่อสร้าง การศึกษาและภาคส่วนอื่น ๆ ตามลำดับ ในปี พ.ศ. 2555 ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในจังหวัดจันทบุรีรวมมูลค่าทั้งสิ้น 100,901 ล้านบาท คิดเป็นอันดับที่ 22 ของประเทศและมีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในจังหวัดต่อหัว 200,876 บาทต่อปี[48] ในส่วนของรายได้ที่แท้จริงของประชากรในจังหวัดจันทบุรีนั้น ประชากรในจังหวัดมีรายได้เฉลี่ย 7,784 บาทต่อเดือนและมีรายจ่ายเฉลี่ย 6,655 บาทต่อเดือน สัดส่วนของคนจนในจังหวัดจันทบุรีเมื่อพิจารณามิติของรายได้พบว่ามีประชากรร้อยละ 8.8 อยู่ในสภาวะยากจน[49][50]
เกษตรกรรม
ภาคส่วนเกษตรกรรมเป็นภาคส่วนที่มีสัดส่วนของผลิตภัณฑ์มวลรวมสูงที่สุดในจังหวัดจันทบุรี โดยในปี พ.ศ. 2555 ภาคส่วนเกษตรกรรมมีผลิตภัณฑ์มวลรวมเท่ากับ 56,262 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 55.76 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมทั้งหมด เมื่อเปรียบเทียบย้อนหลังระหว่างปี พ.ศ. 2538 - 2555 จะพบว่าภาคส่วนทางด้านเกษตรกรรมในภาพรวมมีผลิตภัณฑ์มวลรวมสูงขึ้นต่อเนื่องทุกปี[48] สำหรับภาคส่วนเกษตรกรรมที่มีความสำคัญของจังหวัดจันทบุรีส่วนใหญ่เป็นการเพาะปลูก โดยพืชที่นิยมปลูกมากในจังหวัดจันทบุรีคือพืชไม้ผล พริกไทยและยางพารา
ไม้ผลที่เกษตรกรในจังหวัดจันทบุรีนิยมปลูกมากคือมังคุด ทุเรียน สละและเงาะ[51] เนื่องจากจันทบุรีมีสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศเหมาะสมสำหรับปลูกผลไม้เหล่านี้ทำให้จังหวัดจันทบุรีมีผลไม้เหล่านี้เป็นจำนวนมากและมีคุณภาพดี[52] โดยเฉพาะอย่างยิ่งทุเรียนซึ่งจังหวัดจันทบุรีเป็นจังหวัดที่มีการผลิตมากที่สุดในประเทศไทย[53] ผลไม้อีกชนิดหนึ่งซึ่งมีชื่อเสียงมากของจังหวัดจันทบุรีคือสละเนินวง โดยปลูกมากในบริเวณค่ายเนินวง ตำบลบางกะจะ[54] ผลไม้ของจังหวัดจะออกสู่ตลาดในช่วงระหว่างเดือนเมษายนถึงมิถุนายนของทุกปี[55] อย่างไรก็ตามปริมาณผลไม้ของจังหวัดในแต่ละปีจะมากหรือน้อยนั้นขึ้นอยู่กับสภาพภูมิอากาศ หากเกิดภาวะภัยแล้งขึ้นในจังหวัด ปริมาณผลไม้ที่จะออกสู่ตลาดในปีนั้นจะมีปริมาณลดลง[56]
จังหวัดจันทบุรีเป็นแหล่งปลูกพริกไทยที่สำคัญมากของประเทศไทย โดยพื้นที่ปลูกพริกไทยร้อยละ 95 อยู่ในจังหวัดจันทบุรี[57] โดยพริกไทยสามารถสร้างรายได้เข้าจังหวัดจันทบุรีปีละประมาณ 30 - 60 ล้านบาท อย่างไรก็ตามในช่วงหลายปีที่ผ่านมาพื้นที่การปลูกพริกไทยลดลงเป็นอย่างมาก จากการที่เกษตรกรเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น ปัญหาความเสื่อมโทรมของดินและปัญหาด้านต้นทุนการผลิต โดยเกษตรกรเหล่านี้จะเปลี่ยนจากการปลูกพริกไทยเป็นแก้วมังกรและยางพารา[58]
ในส่วนของยางพารานั้น หลวงราชไมตรี (ปูม ปุณศรี) เป็นบุคคลแรกที่นำยางพาราเข้ามาปลูกในจังหวัดจันทบุรีเป็นพื้นที่แรกของภาคตะวันออก[59] ในปี พ.ศ. 2551 เกษตรกรชาวจันทบุรีปลูกยางพาราในพื้นที่ 463,799 ไร่ โดยปลูกมากที่สุดในอำเภอแก่งหางแมว คิดเป็นร้อยละ 41.60 ของพื้นที่ปลูกยางพาราของจังหวัด[60] แม้ว่ายางพาราจะเป็นพืชเศรษฐกิจที่สร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรชาวจันทบุรีเป็นจำนวนมาก แต่ในหลาย ๆ ปีมักประสบปัญหาราคายางพาราตกต่ำ[61] [62]
ประมง
การประมงของจังหวัดจันทบุรี แม้จะมีส่วนแบ่งในผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในจังหวัดค่อนข้างน้อย (2,683 ล้านบาท) แต่เป็นภาคส่วนที่มีความสำคัญของจังหวัดจันทบุรี[48] เนื่องจากจังหวัดจันทบุรีมีชายฝั่งทะเลยาว 108 กิโลเมตรและมีแม่น้ำหลายสาย[63] ชาวประมงในจันทบุรีมีทั้งที่จับปลาในแหล่งน้ำและเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ โดยสัตว์น้ำที่นิยมเพาะพันธุ์มากที่สุดคือกุ้ง ซึ่งมีผลผลิตรวมกันทั้งจังหวัดในปี พ.ศ. 2552 เท่ากับ 64,262 ตัน[64]
อัญมณี
จังหวัดจันทบุรีได้รับฉายาว่าเป็นเมืองหลวงทางด้านอัญมณีแห่งหนึ่งของโลก[65] โดยกิจการเหมืองอัญมณีของจังหวัดจันทบุรีเริ่มเมื่อใดไม่มีหลักฐานปรากฏแน่ชัด แต่พบหลักฐานในจดหมายเหตุคราวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2419 ความว่า "ได้มีราษฎรนำเอาผลไม้และพลอย หลากสีมาถวาย"[66] อัญมณีที่มีชื่อเสียงมากของจังหวัดจันทบุรีมีหลายชนิด เช่น ไพลิน สตาร์ บุษราคัม แต่ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคือ ทับทิมสยาม ซึ่งมีชื่อเสียงมากในระดับโลก[67] อัญมณีดังกล่าวเหล่านี้มักขุดหาจากเหมืองในบริเวณเขารอบ ๆ ตัวเมืองจันทบุรี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณเขาพลอยแหวนและเขตตำบลบางกะจะ ซึ่งค้นพบอัญมณีเป็นจำนวนมาก[68][66] อย่างไรก็ตามในปัจจุบันปริมาณอัญมณีที่ค้นพบในเขตจังหวัดจันทบุรีลดลงไปมาก ส่งผลให้ต้องนำเข้าอัญมณีจากต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากประเทศมาดากัสการ์ในทวีปแอฟริกา เพื่อนำมาเป็นวัตถุดิบให้ช่างเจียระไนพลอยในจังหวัดจันทบุรีเป็นผู้เจียระไน การซื้อขายอัญมณีในจังหวัดจันทบุรีจะทำการซื้อขายในตลาดพลอย ซึ่งตั้งอยู่ในเขตเมืองเก่าจันทบุรี โดยมีผู้ซื้อทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ[65] มีการคาดการณ์กันว่าใน 1 สัปดาห์มีเงินสะพัดอยู่ในตลาดพลอยประมาณ 200 - 500 ล้านบาท[69]
การท่องเที่ยว
จังหวัดจันทบุรีมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมเป็นจำนวนมาก ส่งผลให้การท่องเที่ยวของจังหวัดจันทบุรีสร้างรายได้ให้กับจังหวัดเป็นจำนวนมาก จากสถิติในแต่ละปีจะพบว่ามีปริมาณนักท่องเที่ยวและรายได้จากการท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น โดยในปี พ.ศ. 2555 มีนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาในจังหวัดจันทบุรีรวมทั้งสิ้น 1,072,348 โดยเกือบทั้งหมดเป็นนักท่องเที่ยวชาวไทย ในส่วนของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในจังหวัดจันทบุรีมีเพียง 53,443 คนเท่านั้น นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่จะเข้ามาพักผ่อนในจังหวัดจันทบุรีโดยเฉลี่ย 2.31 วัน นักท่องเที่ยวเหล่านี้สร้างรายได้ให้กับจังหวัดจันทบุรีกว่า 4,214 ล้านบาท โดยมีค่าเฉลี่ยการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวต่อวันอยูที่ 1,503.07 ต่อคน โดยนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติจะใช้จ่ายต่อวันอยู่ที่ 2,501.61 ต่อคน[70]
โครงสร้างพื้นฐาน
การศึกษา
ดูเพิ่มเติมที่: รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดจันทบุรี
สถาบันการศึกษาในจังหวัดจันทบุรีมีทั้งที่ดำเนินการโดยหน่วยงานทางภาครัฐบาลและภาคเอกชน โดยในส่วนภาคเอกชนมีองค์กรทางศาสนาเป็นส่วนหนึ่งที่ร่วมจัดการศึกษาด้วย ภาษาที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เป็นหลัก และมีการสอดแทรกภาษาจีนและภาษาในทวีปยุโรปอื่น ๆ เข้ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนอีกด้วย โรงเรียนประจำจังหวัดของจันทบุรีมีทั้งสิ้น 2 แห่งคือโรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี (โรงเรียนประจำจังหวัดชาย) และโรงเรียนศรียานุสรณ์ (โรงเรียนประจำจังหวัดหญิง)[71][72]
ในส่วนของสถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดจันทบุรีที่เปิดสอนระดับปริญญาบัณฑิตมีอยู่หลายแห่ง เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสารสนเทศจันทบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (วิทยาลัยนาฏศิลป์จันทบุรี) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (ศูนย์วิทยพัฒนาจันทบุรี) เป็นต้น
การคมนาคมและการสื่อสาร
การเดินทางสู่จังหวัดจันทบุรีมีเส้นทางดังนี้
- เส้นทางสายกรุงเทพฯ–ชลบุรี–พัทยา–บ้านฉาง–ระยอง–จันทบุรี โดยใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 (ถนนสุขุมวิท) ระยะทางประมาณ 315 กิโลเมตร
- เส้นทางสายกรุงเทพฯ–ชลบุรี–ศรีราชา–บ้านฉาง–ระยอง–จันทบุรี โดยใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 36 (ถนนเมืองพัทยา-ระยอง) ระยะทางประมาณ 289 กิโลเมตร
- เส้นทางสายกรุงเทพฯ–ชลบุรี–แกลง–จันทบุรี โดยใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 344 (ถนนชลบุรี-แกลง) ระยะทางประมาณ 249 กิโลเมตร
- เส้นทางยุทธศาสตร์เชื่อมระหว่างภาคตะวันออกเฉียงเหนือผ่านปราจีนบุรี ผ่านทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 33 (ถนนสุวรรณศร) เข้าสู่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 317 (ถนนจันทบุรี-สระแก้ว) ผ่านอำเภอสอยดาว อำเภอโป่งน้ำร้อน และอำเภอมะขาม เข้าสู่จังหวัดจันทบุรี
- เส้นทางจันทบุรี–ตราด ระยะทาง 69.94 กิโลเมตร
- เส้นทางจันทบุรี–ระยอง ระยะทาง 111.67 กิโลเมตร
- เส้นทางจันทบุรี–สระแก้ว ระยะทาง 156.4 กิโลเมตร
- เส้นทางจันทบุรี–ชลบุรี ระยะทาง 167.03 กิโลเมตร
- เส้นทางจันทบุรี–ฉะเชิงเทรา ระยะทาง 191.09 กิโลเมตร
- เส้นทางจันทบุรี–สระบุรี ระยะทาง 327.77 กิโลเมตร
- เส้นทางจันทบุรี–นครราชสีมา ระยะทาง 338.05 กิโลเมตร
- เส้นทางจันทบุรี–บุรีรัมย์ ระยะทาง 344.32 กิโลเมตร
- เส้นทางจันทบุรี–แม่สอด ระยะทาง 697.83 กิโลเมตร
รถ 6 ล้อเล็ก ขนของจากจันทบุรี ไป กทม แถวลาดพร้าว 126
ตอบลบเสร็จแล้วไปขนของแถวสามเหลี่ยมดินแดงมา ลาดพร้าว 126 อีกรอบ
คิดราคาเท่าไรครับ