วันจันทร์ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2557

รถรับจ้างเที่ยวเปล่าอยู่ในจังหวัดอุตรดิตถ์



รถรับจ้างเที่ยวเปล่าอยู่ในจังหวัดอุตรดิตถ์
รถรับจ้างอุตรดิตถ์
ให้บริการด้านรถรับจ้างอุตรดิตถ์รถหกล้อรับจ้างย้ายบ้าน,บริการงานขนส่ง ,รับจัดส่งสินค้า รถรับจ้าง ขน ส่ง ยก ย้าย สิ่งของต่างๆ บริการด้วยความซื่อตรง เราให้บริการรถรับจ้างอุตรดิตถ์ ตลอด 24 ชั่วโมง เพียงท่านคิดจะย้าย คิดถึงรถขนของคิดถึงเราทันที "สมาคมรถรับจ้างไทย" ,รถรับจ้างอุตรดิตถ์ด้วยราคายุติธรรม ไม่แพงอย่างที่ท่านคิด เพียงท่านยกหูหาเราเท่านั้น มีรถรับจ้างจังหวัดอุตรดิตถ์ นัดล่วงหน้าราคาพิเศษ มีรถล่องทั่วไทย
ยินดีต้อนรับบริการรถรับจ้าง ขนของ ย้ายบ้าน ขน ส่ง ยก ย้าย สิ่งของต่างๆ ราคาถูกมาก มีรถบรรทุกประจำจังหวัดอุตรดิตถ์
บริการรถรับจ้างอุตรดิตถ์  รถรับจ้างบริการขนย้าย 6 ล้อ 10 ล้อ ขนของ ขนส่ง ขนย้าย สินค้าต่างๆ ทั่วประเทศ พนักงานยก รับงานขนย้าย ย้ายบ้าน ย้ายคอนโด ย้ายหอพัก 
สำนักงาน ออฟฟิศ บริการรถรับจ้างขนย้าย อุตรดิตถ์ไปทั่วไทย ท่านใดสนใจหรือมีงานเร่ง งานด่วน สามารถติดต่อเราได้ทันทีบริการ รถรับจ้าง ตลอด 24 ชั่วโมง มีรถ 6 ล้อ บริการขนย้ายสินค้าพร้อม พนักงานยกของ งานบูธสินค้า งานก่อสร้าง ย้ายบ้าน สำนักงานโดยทีมงานมืออาชีพมีประสบการณ์มากกว่า 15 ปี
ท่านใดสนใจสามารถติดต่อ ทีมงาน สมาคมรถรับจ้างไทย บริการ รถรับจ้างอุตรดิตถ์ พร้อมทั้งเรายัง บริการ,รถรับจ้างขนของย้ายบ้าน อุตรดิตถ์ ,รถ 10 ล้อรับจ้าง ขนย้ายเพื่องานแสดงโชว์ ออกบูธ ตามสถานที่ต่างๆ  รับผิดชอบงานทุกงาน ตรงต่อเวลา ด้วยการให้บริการด้านรถรับจ้างนานนับสิบปี เรารู้ความต้องการของท่าน เราตอบโจทย์ท่านได้ บริการด้านรถรับจ้าง ทั่วไทย ต้องเราเท่านั้น นอกจากนี้การใช้บริการรถรับจ้าง 4 ล้อ 6 ล้อ 10 ล้อ อุตรดิตถ์ ยังสามารถช่วยในการขนย้ายอุปกรณ์ต่างๆในการจัดบูท จัดนิทรรศการ หรือสำหรับเจ้าของกิจการที่ต้องการส่งของเป็นจำนวนมากให้กับลูกค้าแต่ไม่มีรถที่มีพื้นที่เพียงพอในการขนของ ด้วยการบริการจากทีมงานมืออาชีพ และมีราคาไม่แพง จึงทำให้การขนส่งสิ่งของต่างๆเหล่านี้ทำได้อย่างรวดเร็ว ลดความเสียหายอันเนื่องมาจากการใช้รถรับจ้างที่ไม่มีความเป็นมืออาชีพ
รถกระบะ
ในการให้บริการรถบรรทุก 6 ล้อ และ 10 ล้อ ในจังหวัดอุตรดิตถ์นั้นเราได้มีความพร้อมในการให้บริการโดยที่เราได้จักเตรียมบุคลกรที่มีความรู้ความสามารถในการทำงานมาให้บริการแก่ลูกค้าของเรา โดยเจ้าหน้าที่ของเรานั้นได้ผ่านประสบการณ์ในการทำงานมาแล้วทั้งสิ้น และก่อนที่เจ้าหน้าที่ของเราจะให้บริการนั้นจะได้รับการอบรมก่อนเพื่อที่จะให้เข้าใจเนื้อหาของงานมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพื่อที่เราจะได้สามารถให้บริการลูกค้าอย่างตรงเป้าหมาย และเพื่อให้ตรงตามความต้องการของลูกค้าที่ได้มอบหมายหน้าที่ให้กับเราอีกด้วยเช่นกัน


บริการรถรับจ้างคลอบคลุมทุกอำเภอในจังหวัดอุตรดิตถ์
·         อำเภอตรอน
รถ6ล้อ
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านอุตรดิตถ์
บริการรถสิบล้อรับจ้างทั่วไปในจังหวัดอุตรดิตถ์ เราคือผู้ให้บริการรถสิงล้อรับจ้าง  บรรทุกคน บรรทุกของ บรรทุกสัตว์ เรามีให้บริการคุณทั้งสิ้นไม่ว่าท่านที่อยู่ในจังหวัดอุตรดิตถ์หรือไม่ก็ตาม และหากต้องการขนย้ายข้าวของ เครื่องใช้เฟอร์นิเจอร์ ย้ายบ้าน ย้ายหอ หรือย้ายที่อยู่ชั่วคราว เราก็สามารถช่วยเหลือท่านได้ครับ เพราะเรามีทั้งเครื่องยนต์และตัวผู้ปฎิบัติงานที่มีความสามารถอยู่ครบครัน และประกอบกับใจรักในงานบริการและมากด้วยทักษะความสามารถอีกด้วยครับจึงไม่ต้องเป็นกังวลในเรื่องนี้เลยครับ

รถสิบล้อ
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอตรอน
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอทองแสนขัน
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอท่าปลา
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอน้ำปาด
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอบ้านโคก
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอพิชัย
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอเมืองอุตรดิตถ์
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอฟากท่า
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอลับแล



บริการถรับจ้างทั่วไปในจังหวัดอุตรดิตถ์วันนี้เรามีบริการรถรับจ้างราคาดีคุณภาพรถทุกคันนั้นได้รับการตรวจเช็คและตรวจสอบสภาพอย่างเป็นประจำทีมงานของเราบริการดีพูดจาไพเราะสามารถให้บริการในการตอบคำถามเรื่องคำแนะนำดีแก่ลูกค้าของเราทุกคนฉะนั้นหากท่านต้องการรถรับจ้างสักคันไม่ว่าจะเป็นรถกระบะรถหกล้อรถสิบล้อเราพร้อมให้บริการทุกท่านด้วยใจในเรทราคาที่ได้มาตรฐานการให้บริการธุรกิจในวงการรับจ้างขนส่งอย่ารีรอครับท่านสามารถโทรมาสอบถามทางเราได้ตลอดเวลาครับ
ใช้รถย้ายบ้านแบบมืออาซีพ
            แม้ว่าเรื่องของการเก็บข้าวของเพื่อการย้ายบ้านอาจจะเป็นเรื่องใหญ่อยู่สักหน่อย แต่ก็ไม่ใช่ว่าจะไม่มีวิธีการใดเลยๆที่จะช่วยให้การเก็บข้างของเป็นเรื่องที่ง่ายขึ้น ดังนั้นเราเลยหยิบเทคนิคในการเก็บของเพื่อย้ายสถานที่ง่ายๆมาฝากกัน แต่จะมีอะไรบ้างนั้นไปดูกันเลย
เก็บของง่ายๆแค่นำกล่องเก่ามาใช้ จริงๆแล้วตามร้านข้ายของเก่าทั่วไปก็มีกล่องขายอยู๋ มีกล่องหลากหลายขนาดให่เลือกในราคาถูก และเหตุผลที่เราแนะนำให้ใช้กล่องกระดาษเพราะนอกจากจะหลีกเลี่ยงการกระแทกที่อาจจะทำให้ของแตกหักได้แล้วยังทำให้เราขนของได้ง่ายขึ้นด้วย และที่สำคัญคือเราสามรถแยกของที่ต้องการจะเก็บเป็นห้องใสในกล่องเดียวกันได้ พอเก็บเสร็จก็มาทำสัญลักษณ์ไว้ว่ากล่องไหนเป็นของของไหน เช่น การติดสติ๊กเกอร์ หรือจะเขียนลงไปตรงๆเลยก็ได้เช่นกัน
อีกอย่างวันที่เราย้ายของมาที่ใหม่แล้ว เราอาจจะไม่จัดมันเลยในทันทีอาจจะด้วยความเหนื่อยหรือด้วยเวลาที่มันไม่อำนวยเลยทำให้เราไม่ได้จัด ปัญหาที่ตามมาก็คือ เราไม่มีของใช้นั่นเองเพราะมันยังอยู่ในกล่อง ทางแก้ไขเลยคือเตรียมของที่จะใช้สำหรับ 1 วันแยกออกมาต่างหากไว้สำหรับใช้ในวันนั้นเลยนั่นเอง และที่สำคัญอย่าลืมไปทำความสะอาดบ้านใหม่ก่อนจะเดินทางขนย้ายของไปด้วยล่ะ เพราะเมื่อขนย้ายของเสร็จก็จะได้ล้มตัวนอนได้อย่างสบาย โดยไม่ต้องมาเหนื่อยและเสียเวลากับการจัดของ ทำความสะอาดบ้านอีกนั่นเอง
ส่วนเสื้อผ้าที่น่าจะเป็นของที่มีหลายชิ้นมากที่สุดในบ้านของเรานั้น วิธีการจัดการที่ง่ายที่สุดก็น่าจะเป็นการเก็บรวมๆกันไปเลย เช่น การแพ็คเสื้อผ้าด้วยถุงใบใหญ่ หรือการใส่กล่องไปก็ได้ แต่ก็อาจจะทำให้หนักไปอยู่บ้างเวลาที่ยกของแต่ก็ขนได้ง่ายและสะดวก ในขณะที่การแพ็คเสื้อผ้าด้วยถุงใบใหญ่นั้นเราสามารถห่อเอาเสื้อผ้าไปทั้งที่ยังแขวนไม้แขวนเสื้อได้เลยพอไปถึงบ้านใหม่ก็แขวนต่อได้เลย แต่ก็อาจจะขนยากเสียหน่อยเพราะต้องยกไปทั้งอย่างนั้นเลย

และนี่คือเทคคิคง่ายๆที่เรามาแนะนำกัน เชื่อได้ว่าเทคนิคในการเก็บของเพื่อย้ายบ้านแบบมืออาชีพแบบนี้จะช่วยให้การขนของของคุณง่ายขึ้นไม่มากก็น้อยแหล่ะอย่าลืมนำไปใช้กันนะคะ และที่สำคัญอย่าลืมเลือกรถรับจ้างที่ให้บริการขนย้ายของให้ดีด้วยล่ะ เพื่อให้การขนย้ายของเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและค่าบริการไม่แพงจ

บริการรถหกล้อรับจ้างจังหวัดอุตรดิตถ์

  บริการรถหกล้อรับจ้างจังหวัดนี้ บริษัทนี้ละที่เราอยากจะแนะนำให้คุณได้รู้จักและมาลองสัมผัสกับบริการที่ดีสุดยอดของเขาถ้าคุณอยากทราบว่าทำไม บริษัทนี้คนพูดถึงกันมากมายลองมาใช้บริการกับลูกค้าดีมากและเป็นกันเองกับลูกค้าทุกคนด้วยการทำงานที่คล่องแคล่วรวดเร็วและว่องไวบวกกับพนักงานที่มีแค่คนมีฝีมือกันทั้งนั้นทุกคนมีความชำนาญในการขับรถหกล้อเรียกง่ายๆว่าระดับขั้นเทพกันเลยทีเดียว


บริการรถกระบะ4ล้อรับจ้างจังหวัดอุตรดิษฐ์

   บริการรถกระบะรับจ้างจังหวัดนี้เขามีรถพร้อมเพื่อบริการอยู่มากมายหลายรายการให้คุณได้เรียกใช้กันได้คล่องแคล่วและสะดวก บางบริษัทอาจจะมีรถไม่เพียงพอต่อการให้บริการแก่ลูกค้าบางครั้งคุณต้องรอทำให้งานที่จะบรรทุกของคุณเกิดการล่าช้าจริงไหม แต่ของเรามีรถไว้บริการคุณตลอดและเราไม่เคยทำให้ลูกค้าต้องรอหรือผิดนัดเลย เราทำงานตรงต่อเวลาและรวดเร็วเสมอใครที่เคยใช้บริการแล้วจะรู้แล้วก็ชอบใจกันมากกับบริการที่เรามอบให้ลูกค้า


รถขนส่งจุดที่ 1 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง เชียงราย 
รถขนส่งจุดที่ 2 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง เชียงใหม่ 
รถขนส่งจุดที่ 3 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง น่าน 
รถขนส่งจุดที่ 4 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง พะเยา 
รถขนส่งจุดที่ 5 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง แพร่ 
รถขนส่งจุดที่ 6 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง แม่ฮ่องสอน 
รถขนส่งจุดที่ 7 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง ลำปาง 
รถขนส่งจุดที่ 8 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง ลำพูน 
รถขนส่งจุดที่ 9 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง อุตรดิตถ์ 
รถขนส่งจุดที่ 10 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง จันทบุรี 
รถขนส่งจุดที่ 11 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง ฉะเชิงเทรา 
รถขนส่งจุดที่ 12 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง ชลบุรี 
รถขนส่งจุดที่ 13 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง ตราด 
รถขนส่งจุดที่ 14 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง ปราจีนบุรี 
รถขนส่งจุดที่ 15 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง ระยอง 
รถขนส่งจุดที่ 16 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง สระแก้ว 
รถขนส่งจุดที่ 17 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง กาฬสินธุ์ 
รถขนส่งจุดที่ 18 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง ขอนแก่น 
รถขนส่งจุดที่ 19 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง ชัยภูมิ 
รถขนส่งจุดที่ 20 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง นครพนม 
รถขนส่งจุดที่ 21 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง นครราชสีมา 
รถขนส่งจุดที่ 22 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง บึงกาฬ 
รถขนส่งจุดที่ 23 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง บุรีรัมย์ 
รถขนส่งจุดที่ 24 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง มหาสารคาม 
รถขนส่งจุดที่ 25 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง มุกดาหาร 
รถขนส่งจุดที่ 26 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง ยโสธร 
รถขนส่งจุดที่ 27 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง ร้อยเอ็ด 
รถขนส่งจุดที่ 28 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง เลย 
รถขนส่งจุดที่ 29 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง สกลนคร 
รถขนส่งจุดที่ 30 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง สุรินทร์ 
รถขนส่งจุดที่ 31 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง ศรีสะเกษ 
รถขนส่งจุดที่ 32 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง หนองคาย 
รถขนส่งจุดที่ 33 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง หนองบัวลำภู 
รถขนส่งจุดที่ 34 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง อุดรธานี 
รถขนส่งจุดที่ 35 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง อุบลราชธานี 
รถขนส่งจุดที่ 36 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง อำนาจเจริญ 
รถขนส่งจุดที่ 37 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง กำแพงเพชร 
รถขนส่งจุดที่ 38 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง ชัยนาท 
รถขนส่งจุดที่ 39 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง นครนายก 
รถขนส่งจุดที่ 40 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง นครปฐม 
รถขนส่งจุดที่ 41 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง นครสวรรค์ 
รถขนส่งจุดที่ 42 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง นนทบุรี 
รถขนส่งจุดที่ 43 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง ปทุมธานี 
รถขนส่งจุดที่ 44 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง พระนครศรีอยุธยา 
รถขนส่งจุดที่ 45 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง พิจิตร 
รถขนส่งจุดที่ 46 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง พิษณุโลก 
รถขนส่งจุดที่ 47 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง เพชรบูรณ์ 
รถขนส่งจุดที่ 48 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง ลพบุรี 
รถขนส่งจุดที่ 49 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง สมุทรปราการ 
รถขนส่งจุดที่ 50 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง สมุทรสงคราม 
รถขนส่งจุดที่ 51 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง สมุทรสาคร 
รถขนส่งจุดที่ 52 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง สิงห์บุรี 
รถขนส่งจุดที่ 53 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง สุโขทัย 
รถขนส่งจุดที่ 54 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง สุพรรณบุรี 
รถขนส่งจุดที่ 55 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง สระบุรี 
รถขนส่งจุดที่ 56 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง อ่างทอง 
รถขนส่งจุดที่ 57 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง อุทัยธานี 
รถขนส่งจุดที่ 58 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง กระบี่ 
รถขนส่งจุดที่ 59 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง ชุมพร 
รถขนส่งจุดที่ 60 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง ตรัง 
รถขนส่งจุดที่ 61 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง นราธิวาส 
รถขนส่งจุดที่ 63 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง ปัตตานี 
รถขนส่งจุดที่ 64 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง พังงา 
รถขนส่งจุดที่ 65 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง พัทลุง 
รถขนส่งจุดที่ 66 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง เก็ต 
รถขนส่งจุดที่ 67 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง ระนอง 
รถขนส่งจุดที่ 68 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง สตูล 
รถขนส่งจุดที่ 69 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง งขลา 
รถขนส่งจุดที่ 70 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง สุราษฎร์ธานี 
รถขนส่งจุดที่ 71 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง ยะลา  
รถขนส่งจุดที่ 72 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง กาญจนบุรี 
รถขนส่งจุดที่ 73 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง ตาก 
รถขนส่งจุดที่ 74 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง ประจวบคีรีขันธ์ 
รถขนส่งจุดที่ 75 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง เพชรบุรี 
รถขนส่งจุดที่ 76 รถรับจ้างขนส่ง เชียงราย ไปถึง ราชบุรี 

แผนที่ตัวเมืองอุตรดิตถ์

แผนที่ตัวเมืองอุตรดิตถ์  http0817684439.blogspot.com


แผนที่ท่องเที่ยวจังหวัดอุตรดิตถ์
แผนที่ท่องเที่ยวจังหวัดอุตรดิตถ์ http0817684439.blogspot.com

อุตรดิตถ์ เดิมสะกดว่า อุตรดิฐ[4] เป็นจังหวัดหนึ่งตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย ได้ชื่อว่าเมืองท่าแห่งทิศเหนือ ตำนานอันลึกลับของเมืองลับแล ดินแดนแห่งลางสาดหวานหอม อุตรดิตถ์เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มายาวนาน โดยมีการค้นพบหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของชุมชนมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์[5]
เดิมทีตัวเมืองอุตรดิตถ์ในปัจจุบันนี้เป็นเพียงตำบลชื่อ "บางโพธิ์ท่าอิฐ" แต่เพราะบางโพธิ์ท่าอิฐซึ่งอยู่ริมฝั่งขวาของแม่น้ำน่านมีความเจริญรวดเร็ว เพราะเป็นท่าเรือขนถ่ายสินค้าสำคัญในหัวเมืองฝ่ายเหนือ ดังนั้นในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ย้ายเมืองหลักมาจากเมืองพิชัยมายังตำบลบางโพธิ์ท่าอิฐ และยกฐานะขึ้นเป็นเมือง "อุตรดิตถ์" ซึ่งมีความหมายว่า ท่าน้ำแห่งทิศเหนือของสยามประเทศ [6] ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 เมืองอุตรดิตถ์มีความเจริญขึ้น เมืองอุตรดิตถ์จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด [7]
จังหวัดอุตรดิตถ์ตั้งอยู่ทางใต้สุดของภาคเหนือตอนล่าง โดยสภาพภูมิศาสตร์จังหวัดอุตรดิตถ์เป็นจังหวัดที่มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่สูงสลับซับซ้อน ซึ่งจะอยู่ทางตอนเหนือและทางตะวันออกของจังหวัด เนื่องจากทำเลที่ตั้งดังกล่าวจึงทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีอากาศค่อนข้างร้อนอบอ้าวในฤดูร้อน มีอากาศฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดูฝน และมีช่วงฤดูแล้งคั่นอยู่อย่างชัดเจนตั้งแต่ประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤษภาคม เดือนที่ร้อนที่สุดคือเดือนเมษายน จังหวัดอุตรดิตถ์ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงใต้ปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลอันดามัน ทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนกันยายน โดยเดือนกันยายนเป็นเดือนที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยสูงที่สุด
ประชากรส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 99.66 นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท[8] โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยใช้พื้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 26.70 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ รวมทั้งมีการทำพืชไร่ปลูกผลไม้นานาชนิด โดยผลไม้ที่ขึ้นชื่อของจังหวัดอุตรดิตถ์คือลางสาด
ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดอุตรดิตถ์สามารถใช้เส้นทางได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ ทางรถโดยสารประจำทาง และทางรถยนต์ส่วนบุคคล สำหรับการเดินทางโดยเครื่องบิน จังหวัดอุตรดิตถ์เคยมีท่าอากาศยาน 1 แห่ง สำหรับการเดินทางพาณิชย์ แต่ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว
สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น วัดพระแท่นศิลาอาสน์ วัดพระฝางสว่างคบุรีมุนีนาถ วัดพระยืนพุทธบาทยุคล วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรสุโขทัย แหล่งโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เช่น อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ อุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน และแหล่งท่องเที่ยวอีกมากมาย ทั้งน้ำตก เขื่อนสิริกิติ์ วัด พระพุทธรูปสำคัญของจังหวัด เป็นต้น

เนื้อหา

  

พัฒนาการทางประวัติศาสตร์

สมัยก่อนประวัติศาสตร์

ซ้าย: กลองมโหระทึกสำริดในวัฒนธรรมดองซอน ขุดพบที่ม่อนวัดศัลยพงษ์ ตำบลบางโพ ในปี พ.ศ. 2470[9]
กลาง: ซากกระดูกที่กลายเป็นหินและโบราณวัตถุของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ พบที่บ้านบุ่งวังงิ้ว (สองหลักฐานสำคัญที่แสดงให้เห็นถึงการเคลื่อนไหวและการตั้งถิ่นฐานของแหล่งชุมชนก่อนประวัติศาสตร์ที่มีอายุมากกว่า 2,000 ปี ในจังหวัดอุตรดิตถ์)
ขวา: ถ้วยกระเบื้องแบบจีน พบบนเนินทรายกลางแม่น้ำน่านบริเวณบ้านท่าเสา-บ้านคุ้งตะเภา (หลักฐานสำคัญที่แสดงให้เห็นถึงความรุ่งเรืองของเส้นทางคมนาคมและชุมนุมการค้าสำคัญของท่าอิดช่วงต่อมา ก่อนจะหมดความสำคัญลงสิ้นเชิงในช่วง 100 ปีที่ผ่านมา)
พื้นที่ตั้งตัวเมืองอุตรดิตถ์ในอดีต เป็นพื้นที่ป่าอุดมสมบูรณ์ มีพื้นที่ราบลุ่มอันเกิดจากดินตะกอนแม่น้ำพัดของแม่น้ำน่านที่เหมาะแก่การตั้งถิ่นฐานและประกอบกสิกรรมมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ปรากฏหลักฐานบริเวณรอบที่ตั้งตัวเมืองอุตรดิตถ์ในปัจจุบันที่แสดงให้เห็นถึงการเคลื่อนไหวและการตั้งถิ่นฐานของแหล่งชุมชนมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่มีอายุมากกว่า 2,000 ปี ดังการค้นพบเครื่องมือหินขัดและซากกระดูกมนุษย์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ที่บ้านบุ่งวังงิ้วซึ่งตั้งอยู่ตรงข้ามตำบลบางโพ-ท่าอิฐ และการค้นพบกลองมโหระทึกสำริด, กาน้ำและภาชนะสำริดที่ม่อนศัลยพงษ์ซึ่งตั้งอยู่ในเขตตำบลบางโพในปี พ.ศ. 24701[10]

สมัยประวัติศาสตร์

พื้นที่ตั้งตัวเมืองอุตรดิตถ์ตั้งอยู่ริมแม่น้ำน่าน ในทำเลที่ตั้งอันเป็นเส้นทางคมนาคมสำคัญที่มีความเคลื่อนไหวมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ดังนั้นในบริเวณแถบนี้จึงมีการเคลื่อนไหวและย้ายถิ่นฐานของผู้คนมาโดยตลอด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีท่าน้ำที่สำคัญ 3 ท่า คือ ท่าเซา ท่าอิด และท่าโพธิ์ ซึ่งมีความสำคัญและเจริญรุ่งเรืองมาแต่สมัยขอมปกครองท่าอิด ตั้งแต่ พ.ศ. 1400[11]

เมืองท่าการค้าขายสำคัญ

ที่ตั้งของตัวเมืองอุตรดิตถ์ในปัจจุบันมีที่มาจาก 3 ท่าน้ำสำคัญที่มีความสำคัญเป็นชุมทางค้าขายมาตั้งแต่สมัยอาณาจักรขอม คือ
  • ท่าอิด คือ บริเวณท่าอิฐบนและท่าอิฐล่างปัจจุบัน
  • ท่าโพธิ์ คือ บริเวณวัดท่าถนน ตลาดบางโพ เนื่องจากมีต้นโพธิ์มาก มีคลองไหลผ่าน เรียกว่า คลองบางโพธิ์ (เพี้ยนมาเป็นบางโพ)
  • ท่าเสา คือ บริเวณตลาดท่าเสา
วิบูลย์ บูรณารมย์ ผู้แต่งหนังสือตำนานเมืองอุตรดิษฐ์ ได้อธิบายว่าความหมายของชื่อ "ท่าอิด" และ "ท่าเสา" ไว้ว่า คำว่า "อิด" หรือ "อิฐ" ในชื่อท่าอิดเพี้ยนมาจากคำว่า "อิ๊ด" ในภาษาล้านนา แปลว่า "เหนื่อย" ส่วนคำว่า "เสา" ในชื่อท่าเสามาจากคำว่า "เซา" ในภาษาล้านนา แปลว่า "พักผ่อน" ทั้งสองคำนี้มีที่มาจากการเดินทางมาค้าขายที่ท่าอิดทางเรือ และทางบกของจังหวัดภาคเหนือ และภาคกลางสมัยโบราณ กว่าจะถึงก็เหนื่อยและต้องพักผ่อน[11]
สำหรับความหมายของท่าอิฐและท่าเสาในอีกความเห็นหนึ่งนั้น พิเศษ เจียจันทร์พงษ์ นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์ และผู้เชี่ยวชาญพิเศษประจำกรมศิลปากร กล่าวไว้ในหนังสือของท่านคัดค้านการสันนิษฐานความหมายตามภาษาคำเมืองดังกล่าว โดยกล่าวว่า คำว่าท่าอิฐและท่าเสานั้นเป็นคำในภาษาไทยกลาง เพราะคนท่าอิฐและท่าเสาเป็นกลุ่มชนสุโขทัยดั้งเดิมที่ใช้กลุ่มภาษาไทยกลุ่มเมืองในแคว้นสุโขทัย เช่นเดียวกับชาวสุโขทัย นครสวรรค์ พิจิตร พิษณุโลก กำแพงเพชร และเช่นเดียวกับกลุ่มคนในตำบลทุ่งยั้ง บ้านพระฝาง เมืองพิชัย บ้านแก่ง และบ้านคุ้งตะเภา ซึ่งเป็นกลุ่มคนแคว้นสุโขทัยเดิมในจังหวัดอุตรดิตถ์เช่นเดียวกัน โดยคำว่าท่าเสานั้น มีความหมายโดยตรงเกี่ยวข้องกับการล่องซุงหมอนไม้ในสมัยโบราณเช่นเดียวกับชื่อนามหมู่บ้านหมอนไม้ (หมอนไม้ซุง) ซึ่งอยู่ทางใต้ของบ้านท่าอิฐ[12]
อย่างไรก็ดี จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ แสดงให้เห็นว่าทั้งท่าอิฐและท่าเสานับเป็นท่าที่มีความเจริญทางการค้ามากกว่าทุกท่าในภาคเหนือ เป็นทั้งท่าจอดเรือ ค้าขายจากมณฑลภาคเหนือและภาคกลางรวมถึงเชียงตุง เชียงแสน หัวพันทั้งห้าทั้งหก สิบสองปันนา สิบสองจุไทย จนต่อมาแควน่านได้เปลี่ยนทางเดิน ทำให้หาดท่าอิดงอกออกไปทางตะวันออกมากทุก ๆ ปี ท่าอิดจึงเลื่อนตามลงไปเรื่อย ๆ เรียกว่าหาดท่าอิดล่าง ท่าอิดเดิมเรียกว่าท่าอิดบน ท่าอิดล่างก็ยังคงเป็นศูนย์การค้าสำคัญของภาคเหนือมาตลอดจนถึงสมัยรัชกาลที่ 6[11]

ปลายกรุงศรีอยุธยา-ต้นกรุงรัตนโกสินทร์

ในช่วงสงครามเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 เมืองฝาง ซึ่งอยู่เหนือน้ำเมืองอุตรดิตถ์ได้กลายเป็นแหล่งชุมนุมสำคัญของประชาชน เพราะไม่ได้รับผลกระทบจากการสงครามระหว่างไทย-พม่า ทำให้เกิดชุมนุมเจ้าพระฝางเป็นใหญ่เหนือหัวเมืองแถบนี้ ก่อนจะถูกปราบปรามลงได้ในภายหลัง
ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เคยใช้เมืองท่าอิดเป็นที่พักทักเมื่อกรีธาทัพผ่านมา [13] และใช้เป็นที่รวบรวมทัพก่อนขึ้นตีหัวเมืองฝ่ายเหนือและล้านนา สมัยก่อนนั้น การเดินทางและการขนส่งสินค้าเพื่อนำมาขายทางตอนเหนือมีสะดวกอยู่ทางเดียวคือ ทางน้ำ แม่น้ำที่สามารถให้เรือสินค้ารวมทั้งเรือสำเภาขึ้นลงได้สะดวกถึงภาคเหนือตอนล่างก็มีแม่น้ำน่านเท่านั้น เรือสินค้าที่มาจากกรุงเทพฯ หรือกรุงศรีอยุธยาก็จะขึ้นมาได้ถึงบางโพท่าอิฐเท่านั้น เพราะเหนือขึ้นไปแม่น้ำจะตื้นเขินและมีเกาะแก่งมาก ฉะนั้นตำบลบางโพท่าอิฐจึงเป็นย่านการค้าที่สำคัญ [11]
ภาพถ่ายวิถีชีวิตริมน้ำแม่น้ำน่านสมัยรัชกาลที่ 5 ภาพนี้ถ่ายจากฝั่งแม่น้ำน่านด้านทิศตะวันออกอันเป็นที่ตั้งของบ้านท่าเสา ฝั่งตรงข้ามคือแถบย่านทุ่งบ้านคุ้งตะเภา[14]

กำเนิดนามเมืองอุตรดิตถ์

โดยในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อุตรดิตถ์เป็นหัวเมืองชุมนุมการค้าที่ใหญ่ที่สุดและสำคัญที่สุดในภาคเหนือ ทำให้ในปี พ.ศ. 2430 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้ทรงเล็งเห็นความสำคัญของเมืองแห่งนี้ในฐานะศูนย์กลางการค้าขายของแถบภาคเหนือตอนล่าง หรือเมืองท่าที่ตั้งอยู่ปลายเหนือสุดของการควบคุมด้วยอำนาจโดยตรงของ อาณาจักร จึงพระราชทานนามเมืองท่าอิดไว้ว่า "อุตรดิฐ"[15] (อุตร-ทิศเหนือ, ดิตถ์-ท่าน้ำ) แปลว่า "ท่าน้ำแห่งทิศเหนือ" (คำนี้ต่อมาเขียนเป็น "อุตตรดิตถ์ "[16] และ "อุตรดิตถ์" ดังที่ใช้ในปัจจุบัน)
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงฉายพระบรมฉายาลักษณ์หน้าพลับพลารับเสด็จหน้าวัดวังเตาหม้อ (วัดท่าถนน) จังหวัดอุตรดิฐ พ.ศ. 2444[17]
พ.ศ. 2444 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จประพาสเมืองพิชัย ท่าอิด เมืองทุ่งยั้ง และเมืองลับแล ทรงเล็งเห็นว่าท่าอิดมีความเจริญ เป็นศูนย์ทางการค้า ประกอบกับมีเมืองลับแลอยู่ใกล้ ๆ เป็นเมืองรองลงไป การชำระคดีและการเรียกเก็บภาษีอากรสะดวกกว่าที่เมืองพิชัย แต่ท่าอิดในขณะนั้นยังคงมีฐานะเป็นเมืองท่าขึ้นต่อเมืองพิชัย ดังนั้น คดีต่าง ๆ ที่เกิดขั้นรวมทั้งการเก็บภาษีอากรส่วนใหญ่จึงอยู่ที่ท่าอิด ราษฎรต้องลงไปเมืองพิชัยติดต่อกับส่วนราชการเป็นการไม่สะดวก จึงมีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายเมืองพิชัยมาตั้งที่บริเวณท่าอิด ส่วนเมืองพิชัยเดิมว่าเรียกว่าเมืองพิชัยเก่า

ที่พักทัพปราบกบฏเงี้ยว

พ.ศ. 2446 พวกเงี้ยวก่อการจลาจลที่เมืองแพร่ โดยมีประกาหม่องหัวหน้าเงี้ยวตั้งตนเป็นใหญ่[18][19][20] จับพระยาสุรราชฤทธานนท์ข้าหลวงประจำมณฑลกับข้าราชการไทย 38 คนฆ่าแล้วยกทัพลงมาจะยึดท่าอิด กองทัพเมืองอุตรดิตถ์โดยการนำของพระยาศรีสุริยราชวรานุวัติ เป็นผู้บัญชาทัพ พระยาพิศาลคีรี (ทัพ) ข้าราชการเกษียณอายุแล้วเป็นผู้คุมกองเสบียงส่ง โดยยกทัพไปตั้งรับพวกเงี้ยวที่ปางอ้อ ปางต้นผึ้ง พระยาศรีสุริยราชฯ จึงมอบหมายพระยาพิศาลคีรี เป็นผู้บัญชาการทัพแทน ทั้งนี้เนื่องจากเป็นผู้มีอาวุโสและกรำศึกปราบฮ่อที่หลวงพระบางมามาก พระยาพิศาลคีรีได้สร้างเกียรติคุณให้กองทัพไทยเป็นอย่างยิ่ง โดยการปราบทัพพวกเงี้ยวราบคาบ ฝ่ายไทยเสียชาวบ้านที่อาสารบเพียงคนเดียว กอปรกับเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรีซึ่งเป็นแม่ทัพจากกรุงเทพฯ ยกมาช่วยเหลือ[21]

ยุคทางรถไฟถึงเมืองอุตรดิตถ์

สถานีรถไฟอุตรดิตถ์ในอดีต
พ.ศ. 2448-2451 ทางรถไฟได้เริ่มสร้างทางผ่านท่าโพธิ์และท่าเซา ซึ่งขณะนั้นบริเวณนี้ยังเป็นป่าไผ่อยู่ ไม่เจริญเหมือนท่าอิด กรมรถไฟจึงได้สร้างทางรถไฟแยกไปที่หาดท่าอิดล่าง ในปี พ.ศ. 2450 สมัยพระยาสุจริตรักษา (เชื้อ) เป็นเจ้าเมือง ต่อมาในปี พ.ศ. 2454 กรมรถไฟได้สร้างสถานีรถไฟถึงบางโพธิ์และท่าเซา ทำให้ท่าโพธิ์และท่าเซาเจริญทางการค้าขึ้นอย่างรวดเร็ว ประกอบกับที่ท่าอิดน้ำท่วมบ่อย การคมนาคมทางน้ำเริ่มลดความสำคัญลง การค้าที่ท่าอิดเริ่มซบเซา พ่อค้าเริ่มอพยพมาตั่งที่ท่าโพธิ์และท่าเซาเพิ่มมากขึ้น ท่าอิดเมืองท่าที่เคยเจริญรุ่งเรืองมาตั้งแต่ พ.ศ. 1400 ก็เสื่อมความนิยมลง และได้ย้ายศูนย์กลางการค้ามาที่ตลาดท่าโพธิ์และตลาดท่าเสาในเวลาต่อมา
ต่อมาหลังจากการตัดเส้นทางรถไฟผ่านเมืองอุตรดิตถ์สำเร็จในสมัยรัชกาลที่ 6 ได้ทำให้แหล่งชุมนุมการค้าย่านท่าเสาและท่าอิฐเริ่มหมดความสำคัญลง เพราะรถไฟสามารถวิ่งขึ้นเมืองเหนือได้โดยไม่ต้องหยุดขนถ่ายเสบียงที่เมืองอุตรดิตถ์ และประกอบกับการที่ทางราชการสร้างเขื่อนสิริกิติ์ปิดกั้นแม่น้ำน่านในเขตอำเภอท่าปลาในปี พ.ศ. 2510 ทำให้การคมนาคมทางน้ำยุติลงสิ้นเชิง โดยในช่วงก่อนปี พ.ศ. 2500 นั้น เส้นทางคมนาคมทางถนนในจังหวัดอุตรดิตถ์มีเพียงไม่กี่เส้นทาง และด้วยทำเลที่ตั้งและความไม่สะดวกในการคมนาคมทางถนนในช่วงนั้นดังกล่าว ทำให้ตัวเมืองอุตรดิตถ์ซึ่งเคยเป็นศูนย์กลางการคมนาคมของภาคเหนือกลายเป็นเมืองในมุมปิด ไม่เหมือนเมื่อครั้งการคมนาคมทางน้ำรุ่งเรือง และด้วยภูมิประเทศที่ไม่เอื้ออำนวยดังกล่าว จึงทำให้ในช่วงต่อมารัฐบาลได้หันมาพัฒนาเมืองพิษณุโลกให้เป็นศูนย์กลางแห่งภาคเหนือตอนล่างแทน[22]

อุตรดิตถ์ในปัจจุบัน

จนในปี พ.ศ. 2522 ทางการได้ตัดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 ทำให้เมืองอุตรดิตถ์เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงและมีการพัฒนามากขึ้นตามลำดับ เพราะทางเส้นนี้เป็นเส้นทางส่วนหนึ่งของถนนสายเอเชียที่ตัดผ่านมาจากจังหวัดพิษณุโลกผ่านนอกเมืองอุตรดิตถ์เข้าสู่จังหวัดแพร่ ทำให้เส้นทางนี้กลายเป็นเส้นทางคมนาคมทางบกสายหลักของจังหวัดอุตรดิตถ์ และกลายเป็นทางผ่านสำคัญเพื่อเข้าสู่ภาคเหนือ
ตัวเมืองอุตรดิตถ์มีความเจริญขึ้นมาโดยลำดับเนื่องจากเป็นที่ตั้งของย่านสถานีรถไฟที่ใหญ่ที่สุดในภาคเหนือ ทำให้ในปี พ.ศ. 2458 สมัยรัชกาลที่ 6 ได้ย้ายศูนย์ราชการจากเมืองพิชัยมาตั้งไว้ที่เมืองอุตรดิตถ์ และในปีพ.ศ. 2495 เมืองอุตรดิตถ์จึงได้รับการยกฐานะจากเมืองอุตรดิตถ์ขึ้นเป็นจังหวัดอุตรดิตถ์ สืบจนปัจจุบัน

สัญลักษณ์ประจำจังหวัด

ตราสัญลักษณ์ประจำจังหวัด
"มณฑปประดิษฐานพระแท่นศิลาอาสน์" ภายในวัดพระแท่นศิลาอาสน์
ตราสัญลักษณ์ประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ ออกแบบโดย พระพรหมพิจิตร (อู๋ ลาภานนท์) ในปี พ.ศ. 2483 ตามนโยบายของ จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในสมัยนั้น พระพรหมพิจิตรได้สนองนโยบายที่ให้นำปูชนียวัตถุสถานสำคัญของจังหวัดมาผูกเป็นตรา ท่านจึงได้นำรูปมณฑปประดิษฐานพระแท่นศิลาอาสน์ โบราณสำคัญของจังหวัดอุตรดิตถ์ มาประกอบผูกเข้าไว้เป็นตราประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ ตราที่ผูกขึ้นใหม่นี้เขียนลายเส้นโดย นายอุณห์ เศวตมาลย์ ไม่มีรูปครุฑ, นามจังหวัดและลายกนกประกอบ ต่อมาทางราชการจึงได้เพิ่มรายละเอียดทั้งสามเข้าไว้ในตราจังหวัด ซึ่งตรานี้ยังคงใช้มาจนปัจจุบัน[23]
คำขวัญประจำจังหวัด
เหล็กน้ำพี้ลือเลื่อง เมืองลางสาดหวาน บ้านพระยาพิชัยดาบหัก ถิ่นสักใหญ่ของโลก
— คำขวัญประจำจังหวัดอุตรดิตถ์
คำขวัญประจำจังหวัดอุตรดิตถ์แต่งขึ้นในสมัยพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี โดยผู้ว่าราชการจังหวัดอุตรดิตถ์ในสมัยนั้นได้นำนโยบายนี้เข้าสู่ที่ประชุมหัวหน้าส่วนราชการและมีการคิดประกอบคำขวัญจังหวัดอุตรดิตถ์ขึ้นเป็นตัวอย่าง เพื่อมอบให้วิทยาลัยครูอุตรดิตถ์กำหนดกรอบแนวคิดการประกวดคำขวัญประจำจังหวัดต่อไป อย่างไรก็ดี คำขวัญที่คิดในที่ประชุมส่วนราชการได้รับการเผยแพร่อย่างกว้างขวางและเป็นที่รู้จักทั่วไป จึงไม่ได้มีการคิดประกวดคำขวัญใหม่ ทำให้คำขวัญดังกล่าวยังคงใช้เป็นคำขวัญประจำจังหวัดมาจนปัจจุบัน[23]
วิสัยทัศน์ประจำจังหวัด 
เมืองแห่งคุณภาพชีวิต ผลผลิตปลอดภัย สืบสานวัฒนธรรมไทย ก้าวไกลสัมพันธ์เพื่อนบ้านยั่งยืน
ต้นไม้ประจำจังหวัด
ต้นสัก
ดอกไม้ประจำจังหวัด
ดอกประดู่บ้าน ดอกไม้ประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ ในราวปี พ.ศ. 2504 รัฐบาลเริ่มใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับแรก ได้มีโครงการพัฒนาท้องถิ่นหลายรูปแบบ ส่วนใหญ่เน้นเรื่องเศรษฐกิจในชุมชนเป็นหลักเพื่อเป็นแบบอย่างในการพัฒนาส่วนหนึ่ง จังหวัดจึงมีนโยบายให้หน่วยงานราชการทุกแห่งปลูกไม้ประดับและไม้ยืนต้นในพื้นที่ของส่วนราชการทุกแห่ง และเสนอแนะให้ปลูกพันธุ์ไม้กัลปพฤกษ์และพันธุ์ไม้ประดู่บ้าน แต่พันธุ์ไม้ที่ปลูกทั้งสองชนิดมีเพียงดอกประดู่บ้านที่บานสะพรั่ง ทางจังหวัดจึงกำหนดให้ดอกประดู่บ้านเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดอุตรดิตถ์
สัตว์น้ำประจำจังหวัด
ปลาตะโกก (Cyclocheilichthys enoplos)
เพลงประจำจังหวัด
เพลงประจำจังหวัดคือ "อุตรดิตถ์เมืองงาม"
อุตรดิตถ์เมืองงาม
MENU
0:00
ตัวอย่างบทเพลง อุตรดิตถ์เมืองงาม

[gmaps] [/gmaps]

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น