ให้บริการด้านรถรับจ้างอุทัยธานีรถหกล้อรับจ้างย้ายบ้าน,บริการงานขนส่ง ,รับจัดส่งสินค้า รถรับจ้าง ขน ส่ง ยก ย้าย สิ่งของต่างๆ
บริการด้วยความซื่อตรง เราให้บริการรถรับจ้างอุทัยธานี ตลอด 24 ชั่วโมง เพียงท่านคิดจะย้าย คิดถึงรถขนของคิดถึงเราทันที
"สมาคมรถรับจ้างไทย" ,รถรับจ้างอุทัยธานีด้วยราคายุติธรรม
ไม่แพงอย่างที่ท่านคิด เพียงท่านยกหูหาเราเท่านั้น มีรถรับจ้างจังหวัดอุทัยธานี
นัดล่วงหน้าราคาพิเศษ มีรถล่องทั่วไทย
รถบรรทุก |
บริการรถรับจ้างอุทัยธานี รถรับจ้าง บริการขนย้าย 6 ล้อ 10 ล้อ ขนของ ขนส่ง
ขนย้าย สินค้าต่างๆ ทั่วประเทศ พนักงานยก รับงานขนย้าย ย้ายบ้าน ย้ายคอนโด
ย้ายหอพัก สำนักงาน ออฟฟิศ บริการรถรับจ้างขนย้ายอุทัยธานีไปทั่วไทย ท่านใดสนใจหรือมีงานเร่ง
งานด่วน สามารถติดต่อเราได้ทันที บริการ รถรับจ้าง ตลอด 24 ชั่วโมง มีรถ 6 ล้อ บริการขนย้ายสินค้าพร้อมพนักงานยกของ งานบูธสินค้า งานก่อสร้าง ย้ายบ้าน สำนักงาน โดยทีมงานมืออาชีพมีประสบการณ์มากกว่า 15 ปี
รถกระบะ |
จะดีมากแค่ไหนถ้าหากว่าคุณมีตัวช่วยในการขนย้ายสินค้าให้กับคุรอย่างเป็นมืออาชีพ อีกทั้งคุณเองไม่ต้องขนย้ายสินค้าด้วยตัวคุณเอง ไม่ต้องขับรถเองให้เหนื่อย ไม่ต้องควบคุมงานเองจนจะต้องเสียเวลาในการทำงานอย่างอื่นในเวลาพร้อมๆ กัน อีกทั้งการจราจรที่จะต้องอาศัยความเชี่ยวชาญในการขับรถ และจะต้องมีความอดทนมากพอที่จะขับรถบนถนน เพราะฉะนั้นเราจึงอยากนำเสนอการให้บริการรถบรรทุกในจัหวัดอุทัยธานี และจังหวัดอื่นๆ เพื่อเราจะเป็นผู้ช่วยที่ดีที่สุดให้กับคุณ
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านอุทัยธานี
บริการรถสิบล้อรับจ้างทั่วไปในจังหวัดอุทัยธานี
เรามีรถกระบะบริการท่านไม่ว่าจะเป็น สิบล้อขนาด เล็กหรือใหญ่หรือต้องการในลักษณะใดเราก็มีมาให้บริการทุกท่านทั้งสิ้น
จะเป็นสิบล้อเพื่องานลาก เพื่องานพ่วง
เรามีมาให้บริการให้ท่านเลือกรูปแบบรถที่เหมาะสมในการนำไปใช้งานได้
เรามีรถสิบล้อให้บริการท่านจำนวนมากมายไม่ต่ำกว่า 10 คัน ฉะนั้นหากคุณต้องการเร่งด่วนทันที
เราสามารถที่จะนำรถสิบล้อมาให้ท่านได้ใช้บริการได้อย่างทันท่วงทีครับ
บริการรถรับจ้างคลอบคลุมทุกอำเภอในจังหวัดอุทัยธานี
บริการรถรับจ้างคลอบคลุมทุกอำเภอในจังหวัดอุทัยธานี
รถ6ล้อ |
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอทัพทัน
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอบ้านไร่
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอเมืองอุทัยธานี
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอลานสัก
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอสว่างอารมณ์
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอหนองขาหย่าง
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอหนองฉาง
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอห้วยคต
บริการรถรับจ้างทั่วไปในจังหวัดอุทัยธานีเราให้บริการรถรับจ้างวิ่งงานไม่ว่าจะเป็รงานขนส่งสินค้างานขนย้ายสิ่งของงานบรรทุกต่างๆเราก็สามารถให้บริการทุกท่านได้เพียงวันนี้ท่านโทรมาสอบถามบริการดีๆจากเราเรายินดีให้คำแนะนำท่านได้ทุกเมื่อไม่ว่าท่านจะต้องการรถกระบะรถบรรทุกรถหกล้อรถสิบล้อรถลากรถยกรถพ่วงรถเครนรถโลเบทหางปลาฯลฯเราก็มีให้บริการทุกท่านทั้งสิ้นส่วนเรื่องราคานั้นเราขอยืนยันว่าเราไม่มีการโกงราคาที่เกินจริงในการให้บริการอย่างแน่นอนและราคานั้นท่านสามารถโทรติดต่อสอบถามกับทางทีมงานเราก่อนได้เลยครับ
บริการรถหกล้อรับจ้างจังหวัดนี้
บริษัทนี้ละที่เราอยากจะแนะนำให้คุณได้รู้จักและมาลองสัมผัสกับบริการที่ดีสุดยอดของเขาถ้าคุณอยากทราบว่าทำไม
บริษัทนี้คนพูดถึงกันมากมายลองมาใช้บริการกับลูกค้าดีมากและเป็นกันเองกับลูกค้าทุกคนด้วยการทำงานที่คล่องแคล่วรวดเร็วและว่องไวบวกกับพนักงานที่มีแค่คนมีฝีมือกันทั้งนั้นทุกคนมีความชำนาญในการขับรถหกล้อเรียกง่ายๆว่าระดับขั้นเทพกันเลยทีเดียว
บริการรถหกล้อรับจ้างจังหวัดอุทัยธานีบริการรถหกล้อรับจ้างที่นี่เราคัดแต่พนักงานฝีมือดีกันทุกคนเพราะการบรรทุกของหนักไม่ใช่เรื่องง่ายเลยสำหรับคนที่ขับรถหกล้อไม่ค่อยเป็น
ลองมาใช้บริการของเราดูก่อนแล้วคุณจะติดใจในการทำงานที่รวดเร็วเสร็จเร็วตรงต่อเวลาแถมราคาค่าจ้างยังคิดไม่แพงอีกด้วยนะ
ถ้าใครสนใจที่จะใช้บริการรถหกล้อรับจ้างของเราก็เชิญติดต่อกันเข้ามาได้เราพร้อมให้บริการแก่ท่านตลอดเวลาด้วยหัวใจที่รักในการให้บริการความพอใจของลูกค้ามาก่อนส่วนราคาจ้างมาที่หลังสบายใจหายห่วงกันได้เลยให้บริการความพอใจของลูกค้ามาก่อนส่วนราคาจ้างมาที่หลังสบายใจหายห่วงกันได้เลย
บริการรถกระบะ4ล้อรับจ้างจังหวัดอุทัยธานี
บริการรถกระบะรับจ้างจังหวัดนี้คือชื่อของบริษัทที่ฉันเป็นลูกค้าของเขาประจำอยู่การให้บริการของบริษัทนี้แตกต่างจากของที่อื่นมากที่ฉันเคยใช้มาบริษัทอื่นที่ฉันเคยจ้างเขาทำงานช้ามากหรือเลยทำให้งานล่าช้าหรืออาจจะเป็นเพราะเขายืดเวลาเพื่อกินค่าจ้างก็เป็นได้
พูดจาก็ไม่ค่อยสุภาพไม่เอาใจลูกค้าไม่เคยแทคแคร์ทำงานแบบเอาแต่ใจเขา
คนทำงานรับบริการนี้ต้องตามใจลูกค้าจริงไหมไม่เหมือนกับที่นี่เขาให้ความใส่ใจกับการให้บริการที่นี่บริการสุดยอดที่สุด
รถขนส่งจุดที่ 1 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง เชียงราย
รถขนส่งจุดที่ 2 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง เชียงใหม่
รถขนส่งจุดที่ 3 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง น่าน
รถขนส่งจุดที่ 4 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง พะเยา
รถขนส่งจุดที่ 5 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง แพร่
รถขนส่งจุดที่ 6 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง แม่ฮ่องสอน
รถขนส่งจุดที่ 7 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ลำปาง
รถขนส่งจุดที่ 8 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ลำพูน
รถขนส่งจุดที่ 9 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง อุตรดิตถ์
รถขนส่งจุดที่ 10 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง จันทบุรี
รถขนส่งจุดที่ 11 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ฉะเชิงเทรา
รถขนส่งจุดที่ 12 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ชลบุรี
รถขนส่งจุดที่ 13 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ตราด
รถขนส่งจุดที่ 14 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ปราจีนบุรี
รถขนส่งจุดที่ 15 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ระยอง
รถขนส่งจุดที่ 16 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง สระแก้ว
รถขนส่งจุดที่ 17 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง กาฬสินธุ์
รถขนส่งจุดที่ 18 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ขอนแก่น
รถขนส่งจุดที่ 19 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ชัยภูมิ
รถขนส่งจุดที่ 20 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง นครพนม
รถขนส่งจุดที่ 21 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง นครราชสีมา
รถขนส่งจุดที่ 22 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง บึงกาฬ
รถขนส่งจุดที่ 23 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง บุรีรัมย์
รถขนส่งจุดที่ 24 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง มหาสารคาม
รถขนส่งจุดที่ 25 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง มุกดาหาร
รถขนส่งจุดที่ 26 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ยโสธร
รถขนส่งจุดที่ 27 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ร้อยเอ็ด
รถขนส่งจุดที่ 28 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง เลย
รถขนส่งจุดที่ 29 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง สกลนคร
รถขนส่งจุดที่ 30 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง สุรินทร์
รถขนส่งจุดที่ 31 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ศรีสะเกษ
รถขนส่งจุดที่ 32 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง หนองคาย
รถขนส่งจุดที่ 33 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง หนองบัวลำภู
รถขนส่งจุดที่ 34 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง อุดรธานี
รถขนส่งจุดที่ 35 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง อุบลราชธานี
รถขนส่งจุดที่ 36 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง อำนาจเจริญ
รถขนส่งจุดที่ 37 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง กำแพงเพชร
รถขนส่งจุดที่ 38 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ชัยนาท
รถขนส่งจุดที่ 39 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง นครนายก
รถขนส่งจุดที่ 40 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง นครปฐม
รถขนส่งจุดที่ 41 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง นครสวรรค์
รถขนส่งจุดที่ 42 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง นนทบุรี
รถขนส่งจุดที่ 43 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ปทุมธานี
รถขนส่งจุดที่ 44 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง พระนครศรีอยุธยา
รถขนส่งจุดที่ 45 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง พิจิตร
รถขนส่งจุดที่ 46 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง พิษณุโลก
รถขนส่งจุดที่ 47 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง เพชรบูรณ์
รถขนส่งจุดที่ 48 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ลพบุรี
รถขนส่งจุดที่ 49 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง สมุทรปราการ
รถขนส่งจุดที่ 50 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง สมุทรสงคราม
รถขนส่งจุดที่ 51 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง สมุทรสาคร
รถขนส่งจุดที่ 52 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง สิงห์บุรี
รถขนส่งจุดที่ 53 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง สุโขทัย
รถขนส่งจุดที่ 54 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง สุพรรณบุรี
รถขนส่งจุดที่ 55 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง สระบุรี
รถขนส่งจุดที่ 56 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง อ่างทอง
รถขนส่งจุดที่ 57 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง อุทัยธานี
รถขนส่งจุดที่ 58 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง กระบี่
รถขนส่งจุดที่ 59 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ชุมพร
รถขนส่งจุดที่ 60 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ตรัง
รถขนส่งจุดที่ 61 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง นราธิวาส
รถขนส่งจุดที่ 63 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ปัตตานี
รถขนส่งจุดที่ 64 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง พังงา
รถขนส่งจุดที่ 65 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง พัทลุง
รถขนส่งจุดที่ 66 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง เก็ต
รถขนส่งจุดที่ 67 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ระนอง
รถขนส่งจุดที่ 68 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง สตูล
รถขนส่งจุดที่ 69 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง งขลา
รถขนส่งจุดที่ 70 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง สุราษฎร์ธานี
รถขนส่งจุดที่ 71 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ยะลา
รถขนส่งจุดที่ 72 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง กาญจนบุรี
รถขนส่งจุดที่ 73 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ตาก
รถขนส่งจุดที่ 74 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ประจวบคีรีขันธ์
รถขนส่งจุดที่ 75 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง เพชรบุรี
รถขนส่งจุดที่ 76 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ราชบุรี
บริการรถขนส่งอุทัยธานี
รถรับจ้างขนอุทัยธานีข้างในหน้าดินที่ต่างๆของจังหวัดอุทัยธานีนั้นมีความสะพัดทั้งถึงกันไม่เบาแค่ไหน
รถรับจ้างขนของซื้อของขายที่มีการให้บริการอยู่ในจังหวัดอุทัยธานีนั้นมีถึงขนาดที่จะตอบสนองต่อความต้องการของคนในภูมิประเทศหรือไม่
ปัญหากลุ่มนี้เปป็นคำถามที่เหล่าบริษัทให้บริการรถรับจ้างย้ายของซื้อของขายแตกต่างก้คิดกันมาก่อนที่จะหนีส่วนย่อยที่จังหวัดนี้กันทั้งนั้นเพราะว่าข้าพเจ้าต้องยอมรับความจังหวัดอุทัยธานียังโตได้ยิ่งกว่านี้ในเบื้องหน้าดังนั้นบริษัทรถรับจ้างขนผลิตภัณฑ์จึงได้เลือกที่จะเปิดให้บริการรถรับจ้างขนของซื้อของขายพรรค์รถบรรทุกของซื้อของขายอุทัยธานีกันเป็นโควตาไม่เบาไม่ว่าจะเป็นรถหกล้อ
รถ10ล้อ
รถเทรลเลอร์พร้อมทั้งรถพ่วงหุ้นส่วนโดยโดยมากจะจัดให้รถเทรลเลอร์พร้อมด้วยรถพ่วงไว้ด้วยกันเกี่ยวข้องจากมีการใช้งานคลับคล้ายกันรวมไปถึงการคิดค่าบริการต่างๆด้วยนั่นเอง
ซึ่งเรากล้ารับประกันเลยว่าบ.ให้ให้บริการรถรับจ้างขนย้ายของซื้อของขายประเภทรถใส่ผลิตภัณฑ์นี้ต่างสำนึกบริการสำหรับขานตอบสนองต่อความต้องการในการใช้งานของคนในพื้นบ้านกันอยู่เป็นนิสัยรูปแบบของบริษัทให้บริการรถรับจ้างขนประเภทรถใส่สินค้า
มีมากมาย ยกอุทาหรณ์เช่น
รถหกล้อรับจ้างอุทัยธานี
ซึ่งรถลักษณะตรงนี้ตรงนั้นได้รับความการกำหนดมากในกลุ่มประชาชนทั่วเดินทาง
ในวงการคนที่ต้องการใช้งานเป็นบางครั้งบางคราว หรืออาจจะใช้งานนิจสินแต่ครั้งละปริมาณไม่มากนักเหมือนกันเหตุผลเด่นหมายถึงเรื่องของค่านั่นเองเพราะสังคมคนเหล่านี้ใช้บริการในเวลาสิ้นปัจจัยยิ่งใหญ่จึงเป็นเหตุของราคามากกว่าการบริการ
ภิญโญบริษัทไหนมีมูลค่าที่ถูกหากว่าบริการอาจจะไม่ได้ดีมากนัก คนก็อาจจะให้น.น.ในการตัดสินพิพากษ์ใจไปมากกว่า
ภายในมหุรดีที่รถ
10
ล้อรับจ้างจังหวัดอุทัยธานีนั้นกระผมมักจะปะการใช้งานในการขนขนย้ายของซื้อของขายทางการทุ่งเป็นหลักอาทิเช่น
ข้าว หรือ อ้อย หรืออาจจะรวมไปถึงผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้างเพื่อเช่น
ทรายพร้อมกับดิน ฯลฯ เนื่องด้วยผลิตภัณฑ์พวกนี้บางชนิดมักจะต้องการรถขนย้ายอยู่ตลอดเวลา
เพราะฉะนั้นเรื่องของโปรโมชั่นลดแลกแจกแถมหลายอย่างแล้วจึงหมายถึงตัวทำเสน่ห์ที่สำคัญ
นอกจากนี้รถรับจ้างของฉันทุกคันก็ได้รับการตรวจเช็คสภาพรถทั้งก่อนพร้อมทั้งหลังใช้บริการเป็นอย่างดี
จึ่งมั่นใจในฝ่ายของข้อคดีไม่เป็นอันตรายได้เลย
รถเทรลเลอร์และรถพ่วงอุทัยธานีเพราะว่าหลักๆรถพรรค์นี้จะเข้าทีกับผลิตภัณฑ์ที่มีราคาแพงหรือมีราคาอุจเกี่ยวพันจากประกอบด้วยทั่วต้นแบบที่ป้องกันของซื้อของขายจากภาวะแวดล้อมได้พร้อมด้วยมิได้พร้อมทั้งมีข้อดีที่รอบรู้ขนของซื้อของขายได้มากกว่าถึง
2เพียงในคราวเดียวขัดขวางนั่นเอง
อย่างไรก็ดีเรื่องราวของมูลค่านั้นแพงกว่าแบบอื่นเหตุของบริการจึงมีความยิ่งใหญ่มากๆ
เพื่อให้ทำให้ผู้ใช้งานเกิดความซาบซึ้งคุณค่าการบริการพร้อมทั้งเปลี่ยนมาใช้งานต่อใหม่นั่นเอง
อีกรวมหมดข้าพเจ้ายังเน้นที่ควรรวดเร็วในการขนอีกด้วย
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง: https://www.youtube.com/watch?v=hmQe6DWw4qg
facebook: https://www.facebook.com/UthaiThani4610
แผนที่ตัวเมืองอุทัยธานี
รถขนส่งจุดที่ 1 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง เชียงราย
รถขนส่งจุดที่ 2 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง เชียงใหม่
รถขนส่งจุดที่ 3 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง น่าน
รถขนส่งจุดที่ 4 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง พะเยา
รถขนส่งจุดที่ 5 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง แพร่
รถขนส่งจุดที่ 6 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง แม่ฮ่องสอน
รถขนส่งจุดที่ 7 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ลำปาง
รถขนส่งจุดที่ 8 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ลำพูน
รถขนส่งจุดที่ 9 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง อุตรดิตถ์
รถขนส่งจุดที่ 10 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง จันทบุรี
รถขนส่งจุดที่ 11 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ฉะเชิงเทรา
รถขนส่งจุดที่ 12 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ชลบุรี
รถขนส่งจุดที่ 13 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ตราด
รถขนส่งจุดที่ 14 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ปราจีนบุรี
รถขนส่งจุดที่ 15 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ระยอง
รถขนส่งจุดที่ 16 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง สระแก้ว
รถขนส่งจุดที่ 17 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง กาฬสินธุ์
รถขนส่งจุดที่ 18 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ขอนแก่น
รถขนส่งจุดที่ 19 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ชัยภูมิ
รถขนส่งจุดที่ 20 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง นครพนม
รถขนส่งจุดที่ 21 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง นครราชสีมา
รถขนส่งจุดที่ 22 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง บึงกาฬ
รถขนส่งจุดที่ 23 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง บุรีรัมย์
รถขนส่งจุดที่ 24 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง มหาสารคาม
รถขนส่งจุดที่ 25 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง มุกดาหาร
รถขนส่งจุดที่ 26 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ยโสธร
รถขนส่งจุดที่ 27 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ร้อยเอ็ด
รถขนส่งจุดที่ 28 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง เลย
รถขนส่งจุดที่ 29 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง สกลนคร
รถขนส่งจุดที่ 30 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง สุรินทร์
รถขนส่งจุดที่ 31 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ศรีสะเกษ
รถขนส่งจุดที่ 32 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง หนองคาย
รถขนส่งจุดที่ 33 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง หนองบัวลำภู
รถขนส่งจุดที่ 34 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง อุดรธานี
รถขนส่งจุดที่ 35 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง อุบลราชธานี
รถขนส่งจุดที่ 36 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง อำนาจเจริญ
รถขนส่งจุดที่ 37 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง กำแพงเพชร
รถขนส่งจุดที่ 38 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ชัยนาท
รถขนส่งจุดที่ 39 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง นครนายก
รถขนส่งจุดที่ 40 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง นครปฐม
รถขนส่งจุดที่ 41 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง นครสวรรค์
รถขนส่งจุดที่ 42 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง นนทบุรี
รถขนส่งจุดที่ 43 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ปทุมธานี
รถขนส่งจุดที่ 44 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง พระนครศรีอยุธยา
รถขนส่งจุดที่ 45 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง พิจิตร
รถขนส่งจุดที่ 46 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง พิษณุโลก
รถขนส่งจุดที่ 47 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง เพชรบูรณ์
รถขนส่งจุดที่ 48 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ลพบุรี
รถขนส่งจุดที่ 49 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง สมุทรปราการ
รถขนส่งจุดที่ 50 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง สมุทรสงคราม
รถขนส่งจุดที่ 51 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง สมุทรสาคร
รถขนส่งจุดที่ 52 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง สิงห์บุรี
รถขนส่งจุดที่ 53 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง สุโขทัย
รถขนส่งจุดที่ 54 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง สุพรรณบุรี
รถขนส่งจุดที่ 55 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง สระบุรี
รถขนส่งจุดที่ 56 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง อ่างทอง
รถขนส่งจุดที่ 57 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง อุทัยธานี
รถขนส่งจุดที่ 58 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง กระบี่
รถขนส่งจุดที่ 59 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ชุมพร
รถขนส่งจุดที่ 60 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ตรัง
รถขนส่งจุดที่ 61 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง นราธิวาส
รถขนส่งจุดที่ 63 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ปัตตานี
รถขนส่งจุดที่ 64 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง พังงา
รถขนส่งจุดที่ 65 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง พัทลุง
รถขนส่งจุดที่ 66 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง เก็ต
รถขนส่งจุดที่ 67 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ระนอง
รถขนส่งจุดที่ 68 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง สตูล
รถขนส่งจุดที่ 69 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง งขลา
รถขนส่งจุดที่ 70 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง สุราษฎร์ธานี
รถขนส่งจุดที่ 71 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ยะลา
รถขนส่งจุดที่ 72 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง กาญจนบุรี
รถขนส่งจุดที่ 73 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ตาก
รถขนส่งจุดที่ 74 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ประจวบคีรีขันธ์
รถขนส่งจุดที่ 75 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง เพชรบุรี
รถขนส่งจุดที่ 76 รถรับจ้างขนส่ง อุทัยธานี ไปถึง ราชบุรี
บริการรถขนส่งอุทัยธานี
รถรับจ้างขนอุทัยธานีข้างในหน้าดินที่ต่างๆของจังหวัดอุทัยธานีนั้นมีความสะพัดทั้งถึงกันไม่เบาแค่ไหน
รถรับจ้างขนของซื้อของขายที่มีการให้บริการอยู่ในจังหวัดอุทัยธานีนั้นมีถึงขนาดที่จะตอบสนองต่อความต้องการของคนในภูมิประเทศหรือไม่
ปัญหากลุ่มนี้เปป็นคำถามที่เหล่าบริษัทให้บริการรถรับจ้างย้ายของซื้อของขายแตกต่างก้คิดกันมาก่อนที่จะหนีส่วนย่อยที่จังหวัดนี้กันทั้งนั้นเพราะว่าข้าพเจ้าต้องยอมรับความจังหวัดอุทัยธานียังโตได้ยิ่งกว่านี้ในเบื้องหน้าดังนั้นบริษัทรถรับจ้างขนผลิตภัณฑ์จึงได้เลือกที่จะเปิดให้บริการรถรับจ้างขนของซื้อของขายพรรค์รถบรรทุกของซื้อของขายอุทัยธานีกันเป็นโควตาไม่เบาไม่ว่าจะเป็นรถหกล้อ
รถ10ล้อ
รถเทรลเลอร์พร้อมทั้งรถพ่วงหุ้นส่วนโดยโดยมากจะจัดให้รถเทรลเลอร์พร้อมด้วยรถพ่วงไว้ด้วยกันเกี่ยวข้องจากมีการใช้งานคลับคล้ายกันรวมไปถึงการคิดค่าบริการต่างๆด้วยนั่นเอง
ซึ่งเรากล้ารับประกันเลยว่าบ.ให้ให้บริการรถรับจ้างขนย้ายของซื้อของขายประเภทรถใส่ผลิตภัณฑ์นี้ต่างสำนึกบริการสำหรับขานตอบสนองต่อความต้องการในการใช้งานของคนในพื้นบ้านกันอยู่เป็นนิสัยรูปแบบของบริษัทให้บริการรถรับจ้างขนประเภทรถใส่สินค้า
มีมากมาย ยกอุทาหรณ์เช่น
รถหกล้อรับจ้างอุทัยธานี
ซึ่งรถลักษณะตรงนี้ตรงนั้นได้รับความการกำหนดมากในกลุ่มประชาชนทั่วเดินทาง
ในวงการคนที่ต้องการใช้งานเป็นบางครั้งบางคราว หรืออาจจะใช้งานนิจสินแต่ครั้งละปริมาณไม่มากนักเหมือนกันเหตุผลเด่นหมายถึงเรื่องของค่านั่นเองเพราะสังคมคนเหล่านี้ใช้บริการในเวลาสิ้นปัจจัยยิ่งใหญ่จึงเป็นเหตุของราคามากกว่าการบริการ
ภิญโญบริษัทไหนมีมูลค่าที่ถูกหากว่าบริการอาจจะไม่ได้ดีมากนัก คนก็อาจจะให้น.น.ในการตัดสินพิพากษ์ใจไปมากกว่า
ภายในมหุรดีที่รถ
10
ล้อรับจ้างจังหวัดอุทัยธานีนั้นกระผมมักจะปะการใช้งานในการขนขนย้ายของซื้อของขายทางการทุ่งเป็นหลักอาทิเช่น
ข้าว หรือ อ้อย หรืออาจจะรวมไปถึงผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้างเพื่อเช่น
ทรายพร้อมกับดิน ฯลฯ เนื่องด้วยผลิตภัณฑ์พวกนี้บางชนิดมักจะต้องการรถขนย้ายอยู่ตลอดเวลา
เพราะฉะนั้นเรื่องของโปรโมชั่นลดแลกแจกแถมหลายอย่างแล้วจึงหมายถึงตัวทำเสน่ห์ที่สำคัญ
นอกจากนี้รถรับจ้างของฉันทุกคันก็ได้รับการตรวจเช็คสภาพรถทั้งก่อนพร้อมทั้งหลังใช้บริการเป็นอย่างดี
จึ่งมั่นใจในฝ่ายของข้อคดีไม่เป็นอันตรายได้เลย
รถเทรลเลอร์และรถพ่วงอุทัยธานีเพราะว่าหลักๆรถพรรค์นี้จะเข้าทีกับผลิตภัณฑ์ที่มีราคาแพงหรือมีราคาอุจเกี่ยวพันจากประกอบด้วยทั่วต้นแบบที่ป้องกันของซื้อของขายจากภาวะแวดล้อมได้พร้อมด้วยมิได้พร้อมทั้งมีข้อดีที่รอบรู้ขนของซื้อของขายได้มากกว่าถึง
2เพียงในคราวเดียวขัดขวางนั่นเอง
อย่างไรก็ดีเรื่องราวของมูลค่านั้นแพงกว่าแบบอื่นเหตุของบริการจึงมีความยิ่งใหญ่มากๆ
เพื่อให้ทำให้ผู้ใช้งานเกิดความซาบซึ้งคุณค่าการบริการพร้อมทั้งเปลี่ยนมาใช้งานต่อใหม่นั่นเอง
อีกรวมหมดข้าพเจ้ายังเน้นที่ควรรวดเร็วในการขนอีกด้วย
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง: https://www.youtube.com/watch?v=hmQe6DWw4qg
facebook: https://www.facebook.com/UthaiThani4610
แผนที่ตัวเมืองอุทัยธานี
เนื้อหา
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
- คำขวัญประจำจังหวัด : อุทัยธานี เมืองพระชนกจักรี ปลาแรดรสดี ประเพณีเทโว ส้มโอบ้านน้ำตก มรดกโลกห้วยขาแข้ง แหล่งต้นน้ำสะแกกรัง ตลาดนัดดังโคกระบือ
- ต้นไม้ประจำจังหวัด : ต้นสะเดา (Azadirachta indica var. siamensis)
- ดอกไม้ประจำจังหวัด : ดอกสุพรรณิการ์ (Cochlospermum regium)
- สัตว์น้ำประจำจังหวัด : ปลาแรด (Osphronemus goramy)
|
ประวัติ
เมืองอุทัยธานีมีหลักฐานทางด้านประวัติศาสตร์ของกรมศิลปากรยืนยันไว้ว่า เป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ เมื่อประมาณ 3,000 ปี มาแล้ว โดยพบหลักฐานยืนยันในหลายพื้นที่ เช่น โครงกระดูก เครื่องมือหินกะเทาะจากหินกรวด ภาพเขียนสมัยก่อนประวัติศาสตร์บนหน้าผา (เขาปลาร้า) เป็นต้น
ตำนานเก่าเล่าว่า ในสมัยกรุงสุโขทัยเจริญรุ่งเรืองนั้น ท้าวมหาพรหมได้เข้ามาสร้างเมืองที่บ้านอุทัยเก่า คือ อำเภอหนองฉางในปัจจุบันนี้ แล้วพาคนไทยเข้ามาอยู่ท่ามกลางหมู่บ้านคนมอญและคนกะเหรี่ยง จึงเรียกว่า "เมืองอู่ไทย" ตามกลุ่มหรือที่อยู่ของคนไทยซึ่งพากันตั้งบ้านเรือนอยู่อย่างหนาแน่น มีพืชพันธุ์และอาหารอุดมสมบูรณ์กว่าแห่งอื่น ต่อมากระแสน้ำเปลี่ยนทางเดินและเกิดกันดารน้ำ เมืองอู่ไทยจึงถูกทิ้งร้าง จนในที่สุด พะตะเบิดได้เข้ามาปรับปรุงเมืองอู่ไทย โดยขุดที่เก็บกักน้ำไว้ใกล้เมือง และพะตะเบิดได้เป็นผู้ปกครองเมืองอู่ไทยเป็นคนแรกในสมัยกรุงศรีอยุธยา
เมืองอู่ไทยต่อมาได้เรียกกันเป็น "เมืองอุไทย" คาดว่าเพี้ยนไปตามสำเนียงชาวพื้นเมืองเดิม ได้มีฐานะเป็นหัวเมืองด่านชั้นนอก มีพระพลสงครามเป็นนายด่านแม่กลอง และพระอินทรเดชเป็นนายด่านหนองหลวง (ปัจจุบันแม่กลองคืออำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก และหนองหลวงคือตำบลหนองหลวง อำเภออุ้มผาง) คอยดูแลพม่าที่จะยกทัพมาตามเส้นทางชายแดนด่านแม่ละเมา
ต่อมาในรัชสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถ (พ.ศ. 2148-2163) ได้โปรดเกล้าฯ ให้บัญญัติอำนาจการใช้ตราประจำตำแหน่ง มีบัญชาการตามหัวเมืองนั้น ได้ระบุในกฎหมายเก่าลักษณะพระธรรมนูญว่า "เมืองอุไทยธานี เป็นหัวเมืองขึ้นแก่มหาดไทย"
เมืองอุไทยธานีเป็นเมืองที่อยู่บนที่ดอนและลึกเข้าไป ไม่มีแม่น้ำสายใหญ่และไม่สามารถติดต่อทางเรือได้ ดังนั้นชาวเมืองจึงต้องขนข้าวบรรทุกเกวียนมาลงที่แม่น้ำ จึงทำให้พ่อค้าพากันไปตั้งยุ้งฉางรับซื้อข้าวที่ริมแม่น้ำจนเป็นหมู่บ้านใหญ่ เรียกว่าหมู่บ้าน "สะแกกรัง" เนื่องจากเป็นพื้นที่มีป่าสะแกขึ้นเต็มริมน้ำและมีต้นสะแกใหญ่อยู่กลางหมู่บ้าน บ้านสะแกกรัง ชาวจีนเรียกเพี้ยนเป็น "ซิเกี๋ยกั้ง" เป็นตลาดซื้อข้าวที่มีพ่อค้าคนจีนนิยมไปตั้งบ้านเรือนและยุ้งฉาง ต่อมาในระยะหลังได้มีเจ้านายและขุนนางมาตั้งบ้านเรือนอยู่ เพราะความสะดวกในการกะเกณฑ์สิ่งของส่งเมืองหลวงซึ่งเป็นจำพวกมูลค้างคาว ไม้ซุง กระวาน และช้างป่า อีกทั้งยังมีช่องทางในการค้าข้าวอีกด้วย
ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ (พ.ศ. 2251-2275) นั้น จมื่นมหาสนิท (ทองคำ) ซึ่งย้ายมาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านสะแกกรังนั้น ได้รับแต่งตั้งเป็นพระยาราชนิกูล และต่อมาได้กำเนิดบุตรชายคนโตชื่อ "ทองดี " เกิดที่สะแกกรัง สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกฯ พระนามเดิม ทองดี เดิมทรงรับราชการในแผ่นดินสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 (พระเจ้าบรมโกศ) ได้ดำรงตำแหน่งพระอักษรสุนทร เสมียนตรากรมมหาดไทย ถึงรัชกาลสมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระเจ้าเอกทัศ) พม่ายกกองทัพมาล้อมกรุงศรีอยุธยา เกิดการระส่ำระสายแตกสามัคคีในพระนคร จึงทรงอพยพครอบครัวไปรับราชการกับเจ้าเมืองพิษณุโลก ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าพระยาจักรีศรีองครักษ์ สมุหนายกอัครมหาเสนาบดี อภัยพิริยปรากรมพาหุ ต่อมาทรงพระประชวร สิ้นพระชนม์ในเมืองพิษณุโลก บุตรชายชื่อ "ทองด้วง" ภายหลังได้รับราชการเป็นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ปราบจลาจลในกรุงธนบุรี และสถาปนาเป็นกษัตริย์ราชวงศ์จักรีปกครองแผ่นดินทรงพระนามว่า "พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก" ทรงอัญเชิญพระอัฐิส่วนหนึ่งประดิษฐาน ณ หอพระในพระบรมมหาราชวัง เพื่อให้พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการถวายบังคมในพระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัจจาในฐานะสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกแห่งราชวงศ์จักรี พระอัฐิอีกส่วนหนึ่ง กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท อัญเชิญเข้าประดิษฐานในพระเจดีย์ทองในพระมณฑปวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์ มีประเพณีที่พระมหากษัตริย์ทรงตั้งเครื่องทองน้อย เพื่อสักการบูชาทุกครั้งที่เสด็จพระราชดำเนิน
พ.ศ. 2376 ข้าราชการชาวกรุงเทพฯ ผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพระยาอุไทยธานี เจ้าเมืองอุไทยธานีในสมัยนั้น ได้เห็นว่าบ้านสะแกกรังเป็นตลาดใหญ่ มีผู้คนอพยพเข้ามาอยู่กันอย่างหนาแน่น อีกทั้งเป็นสถานที่ที่ชาวอุไทยธานีติดต่อค้าขายข้าวและไม้ซุงกับพ่อค้าที่นั่นมานานแล้ว จึงคิดตั้งบ้านเรือนเพื่อค้าขาย ประจวบกับเวลานั้น เจ้าเมืองไชยนาทเป็นเพื่อนกัน จึงขอตั้งบ้านเรือนที่ริมแม่น้ำสะแกกรัง เนื่องจากผู้คนมาติดต่อราชการและมาค้าขายกันมาก ทั้งนี้ เนื่องจากเจ้าเมืองไม่กล้าขึ้นไปเมืองอุไทยธานีเก่า อ้างว่ากลัวไข้ป่า จึงเป็นเหตุให้พากันอพยพมาอยู่กันมากขึ้น
พ.ศ. 2391 ได้มีการแบ่งเขตดินแดนเมืองอุไทยธานีและเมืองไชยนาท โดยตัดเขตบ้านสะแกกรังทางฝั่งคลองฟากใต้ ตั้งแต่ท้ายบ้านสะแกกรังไปจดเมืองอุไทยธานีเก่า โอนที่นั่นจากเมืองไชยนาทเป็นของเมืองอุไทยธานี ดังนั้นเมืองอุไทยธานี จึงตั้งอยู่ที่ปลายสุดเขตแดนเมืองมโนรมย์ ข้างใต้บ้านลงมาสักคุ้งน้ำหนึ่งก็เป็นแดนเมืองไชยนาท
พ.ศ. 2441 เมืองอุไทยธานีขึ้นกับมณฑลนครสวรรค์ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 ได้เปลี่ยนไปขึ้นกับมณฑลอยุธยา สุดท้ายมีการประกาศเลิกมณฑลปี พ.ศ. 2476 และจัดให้จังหวัดเป็นหน่วยปกครองส่วนภูมิภาคที่สำคัญที่สุด โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้รับผิดชอบ ตั้งแต่บัดนั้นมาจนถึงปัจจุบัน
เมืองอุทัยธานีมีหลักฐานทางด้านประวัติศาสตร์ของกรมศิลปากรยืนยันไว้ว่า เป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ เมื่อประมาณ 3,000 ปี มาแล้ว โดยพบหลักฐานยืนยันในหลายพื้นที่ เช่น โครงกระดูก เครื่องมือหินกะเทาะจากหินกรวด ภาพเขียนสมัยก่อนประวัติศาสตร์บนหน้าผา (เขาปลาร้า) เป็นต้น
ตำนานเก่าเล่าว่า ในสมัยกรุงสุโขทัยเจริญรุ่งเรืองนั้น ท้าวมหาพรหมได้เข้ามาสร้างเมืองที่บ้านอุทัยเก่า คือ อำเภอหนองฉางในปัจจุบันนี้ แล้วพาคนไทยเข้ามาอยู่ท่ามกลางหมู่บ้านคนมอญและคนกะเหรี่ยง จึงเรียกว่า "เมืองอู่ไทย" ตามกลุ่มหรือที่อยู่ของคนไทยซึ่งพากันตั้งบ้านเรือนอยู่อย่างหนาแน่น มีพืชพันธุ์และอาหารอุดมสมบูรณ์กว่าแห่งอื่น ต่อมากระแสน้ำเปลี่ยนทางเดินและเกิดกันดารน้ำ เมืองอู่ไทยจึงถูกทิ้งร้าง จนในที่สุด พะตะเบิดได้เข้ามาปรับปรุงเมืองอู่ไทย โดยขุดที่เก็บกักน้ำไว้ใกล้เมือง และพะตะเบิดได้เป็นผู้ปกครองเมืองอู่ไทยเป็นคนแรกในสมัยกรุงศรีอยุธยา
เมืองอู่ไทยต่อมาได้เรียกกันเป็น "เมืองอุไทย" คาดว่าเพี้ยนไปตามสำเนียงชาวพื้นเมืองเดิม ได้มีฐานะเป็นหัวเมืองด่านชั้นนอก มีพระพลสงครามเป็นนายด่านแม่กลอง และพระอินทรเดชเป็นนายด่านหนองหลวง (ปัจจุบันแม่กลองคืออำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก และหนองหลวงคือตำบลหนองหลวง อำเภออุ้มผาง) คอยดูแลพม่าที่จะยกทัพมาตามเส้นทางชายแดนด่านแม่ละเมา
ต่อมาในรัชสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถ (พ.ศ. 2148-2163) ได้โปรดเกล้าฯ ให้บัญญัติอำนาจการใช้ตราประจำตำแหน่ง มีบัญชาการตามหัวเมืองนั้น ได้ระบุในกฎหมายเก่าลักษณะพระธรรมนูญว่า "เมืองอุไทยธานี เป็นหัวเมืองขึ้นแก่มหาดไทย"
เมืองอุไทยธานีเป็นเมืองที่อยู่บนที่ดอนและลึกเข้าไป ไม่มีแม่น้ำสายใหญ่และไม่สามารถติดต่อทางเรือได้ ดังนั้นชาวเมืองจึงต้องขนข้าวบรรทุกเกวียนมาลงที่แม่น้ำ จึงทำให้พ่อค้าพากันไปตั้งยุ้งฉางรับซื้อข้าวที่ริมแม่น้ำจนเป็นหมู่บ้านใหญ่ เรียกว่าหมู่บ้าน "สะแกกรัง" เนื่องจากเป็นพื้นที่มีป่าสะแกขึ้นเต็มริมน้ำและมีต้นสะแกใหญ่อยู่กลางหมู่บ้าน บ้านสะแกกรัง ชาวจีนเรียกเพี้ยนเป็น "ซิเกี๋ยกั้ง" เป็นตลาดซื้อข้าวที่มีพ่อค้าคนจีนนิยมไปตั้งบ้านเรือนและยุ้งฉาง ต่อมาในระยะหลังได้มีเจ้านายและขุนนางมาตั้งบ้านเรือนอยู่ เพราะความสะดวกในการกะเกณฑ์สิ่งของส่งเมืองหลวงซึ่งเป็นจำพวกมูลค้างคาว ไม้ซุง กระวาน และช้างป่า อีกทั้งยังมีช่องทางในการค้าข้าวอีกด้วย
ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ (พ.ศ. 2251-2275) นั้น จมื่นมหาสนิท (ทองคำ) ซึ่งย้ายมาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านสะแกกรังนั้น ได้รับแต่งตั้งเป็นพระยาราชนิกูล และต่อมาได้กำเนิดบุตรชายคนโตชื่อ "ทองดี " เกิดที่สะแกกรัง สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกฯ พระนามเดิม ทองดี เดิมทรงรับราชการในแผ่นดินสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 (พระเจ้าบรมโกศ) ได้ดำรงตำแหน่งพระอักษรสุนทร เสมียนตรากรมมหาดไทย ถึงรัชกาลสมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระเจ้าเอกทัศ) พม่ายกกองทัพมาล้อมกรุงศรีอยุธยา เกิดการระส่ำระสายแตกสามัคคีในพระนคร จึงทรงอพยพครอบครัวไปรับราชการกับเจ้าเมืองพิษณุโลก ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าพระยาจักรีศรีองครักษ์ สมุหนายกอัครมหาเสนาบดี อภัยพิริยปรากรมพาหุ ต่อมาทรงพระประชวร สิ้นพระชนม์ในเมืองพิษณุโลก บุตรชายชื่อ "ทองด้วง" ภายหลังได้รับราชการเป็นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ปราบจลาจลในกรุงธนบุรี และสถาปนาเป็นกษัตริย์ราชวงศ์จักรีปกครองแผ่นดินทรงพระนามว่า "พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก" ทรงอัญเชิญพระอัฐิส่วนหนึ่งประดิษฐาน ณ หอพระในพระบรมมหาราชวัง เพื่อให้พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการถวายบังคมในพระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัจจาในฐานะสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกแห่งราชวงศ์จักรี พระอัฐิอีกส่วนหนึ่ง กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท อัญเชิญเข้าประดิษฐานในพระเจดีย์ทองในพระมณฑปวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์ มีประเพณีที่พระมหากษัตริย์ทรงตั้งเครื่องทองน้อย เพื่อสักการบูชาทุกครั้งที่เสด็จพระราชดำเนิน
พ.ศ. 2376 ข้าราชการชาวกรุงเทพฯ ผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพระยาอุไทยธานี เจ้าเมืองอุไทยธานีในสมัยนั้น ได้เห็นว่าบ้านสะแกกรังเป็นตลาดใหญ่ มีผู้คนอพยพเข้ามาอยู่กันอย่างหนาแน่น อีกทั้งเป็นสถานที่ที่ชาวอุไทยธานีติดต่อค้าขายข้าวและไม้ซุงกับพ่อค้าที่นั่นมานานแล้ว จึงคิดตั้งบ้านเรือนเพื่อค้าขาย ประจวบกับเวลานั้น เจ้าเมืองไชยนาทเป็นเพื่อนกัน จึงขอตั้งบ้านเรือนที่ริมแม่น้ำสะแกกรัง เนื่องจากผู้คนมาติดต่อราชการและมาค้าขายกันมาก ทั้งนี้ เนื่องจากเจ้าเมืองไม่กล้าขึ้นไปเมืองอุไทยธานีเก่า อ้างว่ากลัวไข้ป่า จึงเป็นเหตุให้พากันอพยพมาอยู่กันมากขึ้น
พ.ศ. 2391 ได้มีการแบ่งเขตดินแดนเมืองอุไทยธานีและเมืองไชยนาท โดยตัดเขตบ้านสะแกกรังทางฝั่งคลองฟากใต้ ตั้งแต่ท้ายบ้านสะแกกรังไปจดเมืองอุไทยธานีเก่า โอนที่นั่นจากเมืองไชยนาทเป็นของเมืองอุไทยธานี ดังนั้นเมืองอุไทยธานี จึงตั้งอยู่ที่ปลายสุดเขตแดนเมืองมโนรมย์ ข้างใต้บ้านลงมาสักคุ้งน้ำหนึ่งก็เป็นแดนเมืองไชยนาท
พ.ศ. 2441 เมืองอุไทยธานีขึ้นกับมณฑลนครสวรรค์ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 ได้เปลี่ยนไปขึ้นกับมณฑลอยุธยา สุดท้ายมีการประกาศเลิกมณฑลปี พ.ศ. 2476 และจัดให้จังหวัดเป็นหน่วยปกครองส่วนภูมิภาคที่สำคัญที่สุด โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้รับผิดชอบ ตั้งแต่บัดนั้นมาจนถึงปัจจุบัน
|
หน่วยการปกครอง
ประชากรในจังหวัด
- หมายถึงจำนวนประชากรได้เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีก่อน
- หมายถึงจำนวนประชากรได้ลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อน
อันดับ
(ปีล่าสุด) อำเภอ พ.ศ. 2558[4] พ.ศ. 2557[5] พ.ศ. 2556[6] พ.ศ. 2555[7] พ.ศ. 2554[8] พ.ศ. 2553[9] พ.ศ. 2552[10] พ.ศ. 2551[11]
1 บ้านไร่ 69,092 68,755 68,411 68,272 67,957 67,722 67,372 67,027
2 ลานสัก 59,199 58,872 58,598 58,239 57,869 57,905 57,870 57,931
3 เมืองอุทัยธานี 50,962 51,065 51,152 51,330 51,498 51,740 52,001 52,216
4 หนองฉาง 44,235 44,170 44,243 44,290 44,250 44,305 44,309 44,366
5 ทัพทัน 38,859 38,874 38,848 38,724 38,684 38,691 38,709 38,631
6 สว่างอารมณ์ 32,017 31,934 31,893 31,785 31,604 31,568 31,542 31,384
7 ห้วยคต 20,300 20,238 20,175 20,105 20,022 19,955 19,895 19,838
8 หนองขาหย่าง 16,242 16,271 16,216 16,205 16,147 16,073 16,173 16,193
— รวม 330,906 330,179 329,536 328,950 328,034 327,959 327,871 327,586
|
แม่น้ำและแหล่งน้ำที่สำคัญ
- แม่น้ำสะแกกรัง มีต้นกำเนิดจากเขาโมโกจูในจังหวัดกำแพงเพชร ไหลผ่านอำเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์ ผ่านอำเภอสว่างอารมณ์ อำเภอทัพทัน และอำเภอเมืองอุทัยธานี ก่อนไปบรรจบกับแม่น้ำเจ้าพระยาที่ที่บ้านท่าซุง ตำบลท่าซุง อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี มีความยาวประมาณ 225 กิโลเมตร โดยในแม่น้ำบริเวณตลาดหน้าวัดอุโปสถาราม มีชุมชนชาวแพซึ่งอยู่อาศัยกันมาหลายชั่วอายุคน มีการทำสวนต้นเตยและเพาะเลี้ยงปลาแรดในกระชังซึ่งเป็นปลาที่มีชื่อของจังหวัดด้วย
- แม่น้ำเจ้าพระยา ไหลมาจากจังหวัดนครสวรรค์ผ่าน ต.หาดทนง (เกาะเทโพ) อ.เมือง จังหวัดอุทัยธานี
- ลำห้วยคลองโพ เกิดจากเทือกเขาในเขตอำเภอชุมตาบง อำเภอแม่เปิน จังหวัดนครสวรรค์ และอำเภอสว่างอารมณ์ จังหวัดอุทัยธานี ไหลมาบรรจบแม่น้ำสะแกกรัง(แควตากแดด) ที่ตำบลสว่างอารมณ์ อำเภอสว่างอารมณ์ จังหวัดอุทัยธานี มีความยาวประมาณ 30 กิโลเมตร
- ลำห้วยขุนแก้ว เกิดจากเทือกเขาในเขตอำเภอบ้านไร่ และอำเภอห้วยคต ไหลผ่านอำเภอห้วยคต อำเภอลานสัก อำเภอหนองฉาง อำเภอหนองขาหย่าง จังหวัดอุทัยธานี และอำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท มาบรรจบแม่น้ำท่าจีนที่ตำบลวัดสิงห์ อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท มีความยาวประมาณ 60 กิโลเมตร
- ลำห้วยทับเสลา ห้วยทับเสลาเป็นลำห้วยสาขาของแม่น้ำสะแกกรัง ห้วยทับเสลา มีต้นน้ำเกิดจากเทือกเขาในเขตอำเภอบ้านไร่ อำเภอลานสัก ทางทิศตะวันตกของจังหวัดอุทัยธานี ไหลผ่านอำเภอลานสัก อำเภอหนองฉาง อำเภอหนองขาหย่าง มาบรรจบแม่น้ำสะแกกรังที่ตำบลน้ำซึม อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี มีความยาวจากท้ายเขื่อนทับเสลาถึงจุดที่บรรจบกับแม่น้ำสะแกกรังประมาณ 90 กิโลเมตร
- ลำห้วยกระเสียว เป็นลำห้วยสาขาใหญ่ของแม่น้ำท่าจีน ต้นน้ำอยู่ระหว่างเขาแหละกับเขาใหญ่ในเขตอำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี ไหลผ่านท้องที่อำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี อำเภอด่านช้าง อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี มาบรรจบแม่น้ำท่าจีนที่บ้านทึง อำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี รวมความยาวประมาณ 140 กิโลเมตร
|
สถานที่สำคัญ
สถานศึกษาในจังหวัดอุทัยธานี
บุคคลสำคัญ
เชื้อพระวงศ์
- สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก เป็นพระราชบิดาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมชื่อ "ทองดี" เป็นบุตรชายของพระยาราชนิกูล (ทองคำ) ประสูติที่บ้านสะแกกรัง ตำบลสะแกกรัง อำเภอเมืองอุทัยธานี ในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ (พ.ศ. 2251-2275) ได้รับราชการเป็นพระพินิจอักษร และต่อมาได้รับบรรดาศักดิ์เป็นพระอักษรสุนทรสาสน์ มีหน้าที่แต่งราชสาสน์และท้องตราที่ไปมากับหัวเมืองฝ่ายเหนือ ทั้งเป็นผู้เก็บรักษาตราพระราชลัญจกรอันเป็นตราของแผ่นดิน พระอักษรสุนทรสาสน์ได้แต่งงานกับสตรีงามชื่อ "หยก" (บางแห่งเรียกดาวเรือง) มีบุตร-ธิดา 5 คนคือ
- สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยาเทพสุดาวดี
- สมเด็จพระเจ้าขุนรามณรงค์
- สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์
- พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
- สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท
เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้สถาปนา "พระบรมราชวงศ์จักรี" ได้สถาปนาพระราชบิดาเป็น "สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก" เมื่อ พ.ศ. 2338
เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้สถาปนา "พระบรมราชวงศ์จักรี" ได้สถาปนาพระราชบิดาเป็น "สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก" เมื่อ พ.ศ. 2338
|
พระเกจิอาจารย์
บุคคลทั่วไป
- พลตรีหลวงวิจิตรวาทการ เป็นนักคิดนักเขียนคนสำคัญของไทย เดิมชื่อ กิมเหลียง วัฒนปฤดา บุตรนายอินและนางคล้ายเกิดเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2441 ที่จังหวัดอุทัยธานี บิดามารดามีอาชีพค้าขาย อายุ 8 ขวบเข้าเรียนที่โรงเรียนวัดขวิด ตำบลสะแกกรัง เมื่อจบประถมศึกษา บิดาได้นำไปฝากให้บวชสามเณรอยู่กับพระมหาชุ้ย วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร เมื่อท่านอายุ 13 ปีในปี พ.ศ. 2453 ท่านได้ศึกษานักธรรมและบาลีจนจบนักธรรมเอกและเปรียญ 5 ประโยค โดยสอบได้เปรียญ 5 ประโยคเมื่ออายุ 19 ปีใน พ.ศ. 2459 สอบได้เป็นที่ 1 ในประเทศ ได้รับประกาศนียบัตรหมายเลข 1 จากพระหัตถ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) และได้รับความไว้วางใจจากพระศรีวิสุทธิวงศ์ (เฮง เขมจารี) ให้เป็นครูสอนภาษาบาลีอีกด้วย
|
นักการเมือง
นักแสดง / นักร้อง
เทศกาลประเพณี
- งานตักบาตรเทโว วัดสังกัสรัตนคีรี ถือเป็นประเพณีสำคัญในวันออกพรรษาของจังหวัดอุทัยธานี ซึ่งจะจัดขึ้นในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 (ตุลาคม) ของทุกปี พระสงฆ์ทุกรูปที่จำพรรษาในเขตอำเภอเมืองอุทัยธานีประมาณ 200-300 รูป จะออกรับบิณฑบาตโดยเดินลงบันไดจากยอดเขาสะแกกรังนำด้วยพระพุทธรูปปางเสด็จจากดาวดึงส์ลงมารับบิณฑบาตข้าวสารจากพุทธศาสนิกชนที่ลานวัด โดยสมมติมณฑปบนยอดเขาสะแกกรังเป็น "สิริมหามายากูฎคาร" ที่พระพุทธเจ้าทรงเทศน์โปรดมารดา แล้วเสด็จกลับสู่โลกมนุษย์ลงบันได 339 ขั้น ซึ่งถือเป็นบันไดแก้วสู่กัสนคร คือ บริเวณวัดสังกัสรัตนคีรี ในวันนั้นประชาชนจะแต่งกายสวยงามและมาร่วมทำบุญกันอย่างพร้อมเพรียง นับเป็นงานประเพณีที่มีชื่อเสียงได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวทุกปี
- งานไหว้พระพุทธมงคลศักดิ์สิทธิ์ วัดสังกัสรัตนคีรี เป็นงานท้องถิ่น จัดขึ้นในวันขึ้น 3-8 ค่ำ เดือน 4 ของทุกปี เป็นงานประเพณีไหว้พระคู่บ้านคู่เมืองอุทัยธานี ซึ่งเดิมนั้นเป็นงานนมัสการปิดทองพระพุทธบาทจำลองบนยอดเขาสะแกกรัง ในระยะหลังจึงจัดงานในคราวเดียวกันที่วัดนี้ในวันขึ้น 5 ค่ำ เนื่องจากเป็นวันที่พุทธศาสนิกชนส่วนใหญ่มาไหว้พระพุทธมงคลศักดิ์สิทธิ์และขึ้นยอดเขาเพื่อปิดทองพระพุทธบาทจำลองมากที่สุด และได้จัดให้มีการละเล่นสนุกสนานควบคู่กันไปทุกปี
- งานประจำปีวัดหนองขุนชาติ อำเภอหนองฉาง โดยจัดให้มีงานในวันขึ้น 12 ค่ำ - วันแรม 5 ค่ำ เดือน 3 ของทุกปี เดิมเป็นงานนมัสการพระพุทธบาทจำลอง ต่อมาการจัดงานได้รับความนิยมมาก จึงได้จัดให้มีขึ้นเป็นประจำทุกปี
- การละเล่นพื้นเมืองที่บ้านท่าโพ อำเภอหนองขาหย่าง จัดขึ้นในเทศกาลตรุษสงกรานต์ คือระหว่างวันที่ 13-14 เมษายน โดยชาวบ้านในหมู่บ้านท่าโพและหมู่บ้านพันสี จะมาร่วมกันจัดการละเล่นพื้นเมืองขึ้นที่วัดท่าโพ โดยจะเก็บดอกไม้แห่เข้าโบสถ์แล้วร้องเพลงพิษ ฐานในโบสถ์ เสร็จแล้วจะออกมาเล่นเพลงชักกะเย่อ เพลงโลม เพลงรำวงโบราณอย่างสนุกสนานแต่ละเพลงมีท่ารำประกอบเฉพาะ ผลัดกันเล่นมอญซ่อนผ้า เจี๊ยบๆ จ้อย ช่วงชัย เสือกินวัว และแม่ศรี ตามแต่จะแข่งขันกัน ซึ่งเป็นประเพณีของชาวไทยที่รักษาไว้และปฏิบัติกันมาหลายชั่วอายุคน การละเล่นต่างๆ ในหมู่บ้านแห่งนี้ส่วนใหญ่ยังคงเนื้อเพลงที่ร้องแบบของเดิมไว้
- การละเล่นของชาวกะเหรี่ยง อำเภอบ้านไร่ ยังคงรักษาประเพณีเดิมไว้ มีเต้นรำเชอโฮเตตามจังหวะ การร้องเพลงกล่อมลูก เป็นต้น ประเพณีการแต่งงานและการหย่าร้าง การนับถือผี งานบุญเจ้าวัด และการทอผ้าพื้นเมือง เป็นต้น ปัจจุบันยังสามารถศึกษาได้จากหมู่บ้านกะเหรี่ยง ตำบลคอกควาย และตำบลแก่นมะกรูด
- งานแห่เจ้าของชาวจีนในอุทัยธานี เป็นประเพณีของชาวจีนในอุทัยธานีที่จะจัดพิธีแห่เจ้าพ่อและเจ้าแม่ซึ่งประดิษฐานอยู่ตามศาลต่างๆ โดยกำหนดมีงานตามการครบปีของเจ้าแต่ละองค์ ซึ่งบางองค์ 5 ปีแห่ครั้งหนึ่ง บางองค์ 12 ปีแห่ครั้งหนึ่ง บางองค์ 14 ปีแห่ครั้งหนึ่ง ไม่เหมือนกัน การแห่เจ้าพ่อปุงเถ่ากง เจ้าพ่อหลักเมืองอุทัยธานี จะมีขบวนสาวงามถือธงร่วมขบวนเป็นแถวยาวผ่านตลอดไปตามถนนรอบเมือง และจะมีสิงโตคณะต่างๆ ของชาวจีนในอุทัยธานีร่วมให้พรตามร้านค้าคนจีนในตลาด ซึ่งทุกร้านจะตั้งโต๊ะบูชาประดับด้วยงาช้างขนาดใหญ่สวยงาม ถ้าเป็นงานของเจ้าแม่ทับทิม "จุ้ยบ้วยเนี้ยว" จะมีพิธีเปลี่ยนเครื่องทรงเจ้าแม่เมื่อครบ 12 ปี และเข้าทรงทำการลุยไฟด้วย
|
เหตุการณ์สำคัญ
ที่มาของธงไตรรงค์
ธงช้างเผือกเปล่าได้ใช้เป็นธงชาติสยามสืบมาจนกระทั่งในปี พ.ศ. 2459 เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ได้เสด็จพระราชดำเนินไปยังเมืองอุทัยธานี ซึ่งขณะนั้นประสบเหตุอุทกภัย และทอดพระเนตรเห็นธงช้างของราษฎรซึ่งตั้งใจรอรับเสด็จไว้ถูกติดกลับหัว พระองค์จึงมีพระราชดำริว่า ธงชาติต้องมีรูปแบบที่สมมาตรเพื่อไม่ให้เหตุการณ์เช่นนี้เกิดขึ้นอีก จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนรูปแบบธงชาติอีกครั้ง โดยเปลี่ยนเป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีแถบยาวสีแดง 3 แถบ สลับกับแถบสีขาว 2 แถบ ซึ่งเหมือนกับธงชาติไทยในปัจจุบัน แต่มีเพียงสีแดงสีเดียว ซึ่งธงนี้เรียกว่า "ธงแดงขาว 5 ริ้ว" (ชื่อในเอกสารราชการเรียกว่า ธงค้าขาย)ทั้งนี้ สำหรับหน่วยงานราชการของรัฐบาลสยามยังคงใช้ธงช้างเผือกเป็นสัญลักษณ์ แต่ใช้รูปช้างเผือกทรงเครื่องยืนแท่น ซึ่งแต่เดิมธงนี้เป็นธงสำหรับเรือหลวงมาตั้งแต่ พ.ศ. 2440 และมีฐานะเป็นธงราชการอยู่ก่อนแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 2453
ธงช้างเผือกเปล่าได้ใช้เป็นธงชาติสยามสืบมาจนกระทั่งในปี พ.ศ. 2459 เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ได้เสด็จพระราชดำเนินไปยังเมืองอุทัยธานี ซึ่งขณะนั้นประสบเหตุอุทกภัย และทอดพระเนตรเห็นธงช้างของราษฎรซึ่งตั้งใจรอรับเสด็จไว้ถูกติดกลับหัว พระองค์จึงมีพระราชดำริว่า ธงชาติต้องมีรูปแบบที่สมมาตรเพื่อไม่ให้เหตุการณ์เช่นนี้เกิดขึ้นอีก จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนรูปแบบธงชาติอีกครั้ง โดยเปลี่ยนเป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีแถบยาวสีแดง 3 แถบ สลับกับแถบสีขาว 2 แถบ ซึ่งเหมือนกับธงชาติไทยในปัจจุบัน แต่มีเพียงสีแดงสีเดียว ซึ่งธงนี้เรียกว่า "ธงแดงขาว 5 ริ้ว" (ชื่อในเอกสารราชการเรียกว่า ธงค้าขาย)ทั้งนี้ สำหรับหน่วยงานราชการของรัฐบาลสยามยังคงใช้ธงช้างเผือกเป็นสัญลักษณ์ แต่ใช้รูปช้างเผือกทรงเครื่องยืนแท่น ซึ่งแต่เดิมธงนี้เป็นธงสำหรับเรือหลวงมาตั้งแต่ พ.ศ. 2440 และมีฐานะเป็นธงราชการอยู่ก่อนแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 2453
|
ปัญหาอุทกภัย ปี พ.ศ. 2554
น้ำท่วมจังหวัดอุทัยธานี โดยเริ่มตั้งแต่ วันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2554น้ำจากแม่น้ำเจ้าพระยาหนุนเข้าแม่น้ำสะแกกรัง ทำน้ำทะลักเข้าท่วมชุมชนริมแม่น้ำ-โบราณสถานสำคัญของจังหวัดอุทัยธานีแล้ว
สถานการณ์น้ำท่วมจังหวัดอุทัยธานี ที่ได้รับผลกระทบจากปริมาณน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาได้ทวีความรุนแรงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะพื้นที่ตำบลเกาะเทโพ ตำบลท่าซุง ได้ขยายวงกว้างท่วมบ้านเรือนชาวบ้านไปแล้วนับพันหลังคาเรือน พื้นที่การเกษตรเสียหายไปนับหมื่นไร่ จนทำให้ทางจังหวัด ต้องประกาศให้เป็นพื้นประสบภัยพิบัติฉุกเฉินไปแล้ว
ล่าสุดปริมาณในแม่น้ำเจ้าพระยาที่บริเวณเกาะคุ้งสำเภา ตำบลท่าซุง อำเภอเมืองอุทัยธานี ได้หนุนย้อนเข้าไปในแม่น้ำสะแกรัง ทำให้ระดับน้ำในแม่น้ำสะแกกรังมีระดับสูงขึ้นวันละ 10 -15 ซม. บางจุดน้ำได้เอ่อล้นตลิ่งโดยเฉพาะชุมชนหน้าวัดพิชัยฯ น้ำได้ทะลักเข้าท่วมบ้านเรือนประชาชนที่อยู่ริมฝั่งแม่น้ำสะแกกรังไปกว่า 20 หลังเรือน โดมีระดับน้ำสูงกว่า 1 เมตร ชาวบ้านต้องขึ้นไปอาศัยอยู่บนชั้น 2 ของบ้าน หลายบ้านต้องอพยพไปอยู่บนพื้นที่สูงด้านหน้าวัดพิชัยฯ ซึ่งทางเทศบาลเมืองจัดเต็นท์ไว้ให้ ส่วนชาวแพทั้ง 2 ฝั่ง ที่อาศัยอยู่ก็ต้องเร่งชักแพเข้าฝั่งป้องกันแพหลุดตามไปกลับกระแสน้ำ และปัจจุบันพบว่าในเขตเทศบาลเมืองอุทัยธานี บริเวณถนนศรีอุทัยฯ บางระดับน้ำยังท่วมสูงกว่า 1 เมตร ทำให้ชาวบ้านจำนวนมากได้รับความเดือดร้อน
สำหรับน้ำในแม่น้ำสะแกกรัง ยังได้เอ่อล้นตลิ่งทะลักเข้าท่วมโบราณสถานสำคัญ คือ มณฑปแปดแหลี่ยม ติดกับพระอุโบสถวัดโบสถ์ หรือวัดอุโปสถาราม ที่สร้างในสมัยอยุธยาตอนปลาย -รัตนโกสินทร์ตอนต้น สูงประมาณ 50 ซม.
[gmaps]
[/gmaps]
น้ำท่วมจังหวัดอุทัยธานี โดยเริ่มตั้งแต่ วันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2554น้ำจากแม่น้ำเจ้าพระยาหนุนเข้าแม่น้ำสะแกกรัง ทำน้ำทะลักเข้าท่วมชุมชนริมแม่น้ำ-โบราณสถานสำคัญของจังหวัดอุทัยธานีแล้ว
สถานการณ์น้ำท่วมจังหวัดอุทัยธานี ที่ได้รับผลกระทบจากปริมาณน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาได้ทวีความรุนแรงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะพื้นที่ตำบลเกาะเทโพ ตำบลท่าซุง ได้ขยายวงกว้างท่วมบ้านเรือนชาวบ้านไปแล้วนับพันหลังคาเรือน พื้นที่การเกษตรเสียหายไปนับหมื่นไร่ จนทำให้ทางจังหวัด ต้องประกาศให้เป็นพื้นประสบภัยพิบัติฉุกเฉินไปแล้ว
ล่าสุดปริมาณในแม่น้ำเจ้าพระยาที่บริเวณเกาะคุ้งสำเภา ตำบลท่าซุง อำเภอเมืองอุทัยธานี ได้หนุนย้อนเข้าไปในแม่น้ำสะแกรัง ทำให้ระดับน้ำในแม่น้ำสะแกกรังมีระดับสูงขึ้นวันละ 10 -15 ซม. บางจุดน้ำได้เอ่อล้นตลิ่งโดยเฉพาะชุมชนหน้าวัดพิชัยฯ น้ำได้ทะลักเข้าท่วมบ้านเรือนประชาชนที่อยู่ริมฝั่งแม่น้ำสะแกกรังไปกว่า 20 หลังเรือน โดมีระดับน้ำสูงกว่า 1 เมตร ชาวบ้านต้องขึ้นไปอาศัยอยู่บนชั้น 2 ของบ้าน หลายบ้านต้องอพยพไปอยู่บนพื้นที่สูงด้านหน้าวัดพิชัยฯ ซึ่งทางเทศบาลเมืองจัดเต็นท์ไว้ให้ ส่วนชาวแพทั้ง 2 ฝั่ง ที่อาศัยอยู่ก็ต้องเร่งชักแพเข้าฝั่งป้องกันแพหลุดตามไปกลับกระแสน้ำ และปัจจุบันพบว่าในเขตเทศบาลเมืองอุทัยธานี บริเวณถนนศรีอุทัยฯ บางระดับน้ำยังท่วมสูงกว่า 1 เมตร ทำให้ชาวบ้านจำนวนมากได้รับความเดือดร้อน
สำหรับน้ำในแม่น้ำสะแกกรัง ยังได้เอ่อล้นตลิ่งทะลักเข้าท่วมโบราณสถานสำคัญ คือ มณฑปแปดแหลี่ยม ติดกับพระอุโบสถวัดโบสถ์ หรือวัดอุโปสถาราม ที่สร้างในสมัยอยุธยาตอนปลาย -รัตนโกสินทร์ตอนต้น สูงประมาณ 50 ซม.
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น