รถรับจ้างสงขลารถหกล้อรับจ้างย้ายบ้าน,บริการงานขนส่ง ,รับจัดส่งสินค้า รถรับจ้าง ขน
ส่ง ยก ย้าย สิ่งของต่างๆ บริการด้วยความซื่อตรง เราให้บริการรถรับจ้างสงขลาตลอด 24 ชั่วโมง เพียงท่านคิดจะย้าย
คิดถึงรถขนของคิดถึงเราทันที "สมาคมรถรับจ้างไทย" ,รถรับจ้างสงขลาด้วยราคายุติธรรม ไม่แพงอย่างที่ท่านคิด
เพียงท่านยกหูหาเราเท่านั้น มีรถรับจ้างจังหวัดสงขลา
นัดล่วงหน้าราคาพิเศษ มีรถล่องทั่วไทย
ยินดีต้อนรับบริการรถรับจ้าง
ขนของ ย้ายบ้าน ขน ส่ง ยก ย้าย สิ่งของต่างๆ ราคาถูกมาก
มีรถบรรทุกประจำจังหวัดสงขลา
รถบรรทุก |
บริการรถรับจ้างสงขลา รถรับจ้างบริการขนย้าย 6 ล้อ 10 ล้อ ขนของ ขนส่ง
ขนย้าย สินค้าต่างๆ ทั่วประเทศ พนักงานยก รับงานขนย้าย ย้ายบ้าน ย้ายคอนโด
ย้ายหอพัก สำนักงาน ออฟฟิศ ท่านใดสนใจหรือมีงานเร่ง งานด่วน สามารถติดต่อเราได้ทันที บริการรถรับจ้าง ตลอด 24 ชั่วโมง มีรถ 6 ล้อ บริการขนย้ายสินค้าพร้อมพนักงานยกของ งานบูธสินค้า งานก่อสร้าง ย้ายบ้าน สำนักงาน โดยทีมงานมืออาชีพมีประสบการณ์มากกว่า 15 ปี ท่านใดสนใจสามารถติดต่อ ทีมงาน สมาคมรถรับจ้างไทย
บริการ รถรับจ้างสงขลา พร้อมทั้งเรายัง บริการ,รถรับจ้างขนของย้ายบ้าน
สงขลา ,รถ 10 ล้อรับจ้าง
ขนย้ายเพื่องานแสดงโชว์ ออกบูธ ตามสถานที่ต่างๆ รับผิดชอบงานทุกงาน
ตรงต่อเวลา ด้วยการให้บริการด้านรถรับจ้างนานนับสิบปี เรารู้ความต้องการของท่าน
เราตอบโจทย์ท่านได้ บริการด้านรถรับจ้าง ทั่วไทย ต้องเราเท่านั้น หลายคนสนใจที่จะใช้บริการรถรับจ้าง 4
ล้อ 6 ล้อ 10 ล้อในการขนย้ายของแต่กลัวว่าค่าบริการอาจจะแพง
จริงๆแล้วการเรียกรถรับจ้างเพื่อขนย้ายของมีราคาไม่แพงอย่างที่คิด
อีกทั้งยังช่วยให้คุณประหยัดค่าขนย้ายเพราะสามารถขนของทั้งหมดไปได้ในคราวเดียวโดยไม่ต้องเสียเวลาในการขนย้ายของหลายรอบ
รถกระบะ |
จังหวัดสงขลาเป็นจังหวัดที่มีความเจริญเติบโตมากจังหวัดหนึ่งของประเทศไทยเนื่องจากการเป็นหัวเมืองของจังหวัดทางภาคใต้ เพราะฉะนั้นลูกค้าของเราที่เข้ามาใช้บริการนั้นก็จะเป็นเจ้าของธุรกิจเป็นส่วนมาก ซึ่งด้วยความพร้อมในการทำงานของเรานั้นทำให้ลูกค้าทั้งรายเล็ก และรายใหญ่ของเรามีความมั่นใจว่าเราจะสามารถให้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด โดยรถบรรทุกที่เราได้จัดเตรียมไว้นั้นเป็นรถบรรทุกขนาด 6 ล้อ และรถบรรทุกขนาด 10 ล้อ ที่เราได้จอดรอไว้เพื่อเตรียมสตาร์ทให้บริการแก่ท่านแล้ว
บริการรถรับจ้างคลอบคลุมทุกจังหวัดสงขลา
บริการรถรับจ้างคลอบคลุมทุกจังหวัดสงขลา
รถ6ล้อ |
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสงขลา
บริการรถสิบล้อรับจ้างทั่วไปในจังหวัดสงขลา
เราคือผู้ที่ให้บริการงานในด้านขนย้าย บรรทุก
หรือวิ่งงานในด้านการขนส่งในทุกๆที่ให้กับท่าน
ไม่ว่างานที่ท่านต้องการให้เราช่วยเหลือนั้นจะเป็นงานที่หนักหรืองานที่เบา
จะเป็นงานขนย้ายธรรมดาหรือเป็นงานขนย้ายสินค้าที่มีมูลค่าสูง
เราสามารถให้ความช่วยเหลือทุกท่านได้ทุกเมื่อ
ฉะนั้นหากวันนี้คุณมีความต้องการให้เราช่วยเหลือในงานบริการด้านใด
ท่านสามารถโทรมาสอบถามรายละเอียดในการบริการของเราได้เสมอ
เพียงวันนี้คุณยกหูและโทรเข้ามาสอบถามเรา เราก็ยินดีให้คำตอบกับทุกท่านด้วยบริการที่ดีเสมอมา
รถสิบล้อ |
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอกระแสสินธุ์
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอคลองหอยโข่ง
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอควนเนียง
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอจะนะ
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอเทพา
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอนาทวี
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอนาหม่อม
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอบางกล่ำ
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอเมืองสงขลา
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอระโนด
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอรัตภูมิ
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอสทิงพระ
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอสะเดา
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอสะบ้าย้อย
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอสิงหนคร
บริการถรับจ้างทั่วไปในจังหวัดสงขลาท่านที่อยู่ในจังหวัดสงขลาทุกท่านวันนี้เรามีบริการดีๆมาภูมิใจนำเสนอบริการดีๆของเราไม่ว่าจะเป็นการวิ่งงานในพื้นที่จังหวัดเดียวกันหรือจังหวัดใกล้เคียงเราก้มีมาให้บริการทั้งสิ้นหากท่านต้องการติดต่อสอบถามข้อมูลการให้บริการของเราท่านสามารถติดต่อได้ตลอดเวล่เรามีพนักงานคอยให้คำแนะนำท่านอยู่ส่วนในเรื่องรถรับจ้างของเรานั้นเรามีรถกระบะรถยกรถหกล้อรถตู้รถสิบล้อพ่วงรถเครนรถลากฯลฯไม้คอยให้บริการพี่น้องสงชลาให้ได้รับความสถดวกสบายแบบทั่วถึงกันเพียงท่านติดต่อเข้ามาที่เรา
บริการรถหกล้อรับจ้างจังหวัดสงขลา
หากคุณอยากได้บริการรถหกล้อลองมาใช้บริการของที่นี่สิหกล้อรับจ้างจังหวัดสงขลาที่นี่ให้บริการเป็นเลิศและเขายังคิดค่าบริการแบบเป็นกันเองราคาค่าจ้างของเขาถูกกว่าของที่อื่นด้วยนะใครที่ยังไม่เคยใช้บริการก็ลองมาใช้บริการกันดูได้รับรองว่าคุณจะต้องชอบใจและจะต้องใช้บริการของเขาอีกบริการที่เป็นกันเองและราคาก็ถูกแบบนี้ไม่ใช่จะหากันได้ง่ายๆแล้วนะในสังคมสมัยนี้เขาเปิดตลอด24ชั่วโมง
[gmaps]
[/gmaps]
บริการรถกระบะ4ล้อรับจ้างจังหวัดสงขลา
บริการรถกระบะรถรับจ้างจังหวัดนี้เขายังมีบริการดีๆให้คุณเลือกใช้กันอีกมากมายหลายรายการและที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งคุณไม่ต้องกังวลเลยว่ารถเขาจะเสียระหว่างทางไม่มีเหตุการณ์แบบนั้นเกิดขึ้นแน่นอนเพราะก่อนออกทำงานเขาจะตรวจสภาพรถทุกคันให้อยู่ในสภาพแข็งแรงและพร้อมจะใช้งานได้ทุกคัน
ลองมาใช้บริการกันดูนะรับรองถูกใจคุณแน่นอนส่วนเรื่องราคานั้นไม่แพงวางใจได้เขาเปิดให้บริการทุกวันและตลอด24ชั่วโมง
รถขนส่งจุดที่ 1 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง เชียงราย
รถขนส่งจุดที่ 2 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง เชียงใหม่
รถขนส่งจุดที่ 3 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง น่าน
รถขนส่งจุดที่ 4 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง พะเยา
รถขนส่งจุดที่ 5 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง แพร่
รถขนส่งจุดที่ 6 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง แม่ฮ่องสอน
รถขนส่งจุดที่ 7 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ลำปาง
รถขนส่งจุดที่ 8 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ลำพูน
รถขนส่งจุดที่ 9 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง อุตรดิตถ์
รถขนส่งจุดที่ 10 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง จันทบุรี
รถขนส่งจุดที่ 11 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ฉะเชิงเทรา
รถขนส่งจุดที่ 12 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ชลบุรี
รถขนส่งจุดที่ 13 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ตราด
รถขนส่งจุดที่ 14 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ปราจีนบุรี
รถขนส่งจุดที่ 15 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ระยอง
รถขนส่งจุดที่ 16 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง สระแก้ว
รถขนส่งจุดที่ 17 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง กาฬสินธุ์
รถขนส่งจุดที่ 18 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ขอนแก่น
รถขนส่งจุดที่ 19 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ชัยภูมิ
รถขนส่งจุดที่ 20 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง นครพนม
รถขนส่งจุดที่ 21 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง นครราชสีมา
รถขนส่งจุดที่ 22 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง บึงกาฬ
รถขนส่งจุดที่ 23 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง บุรีรัมย์
รถขนส่งจุดที่ 24 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง มหาสารคาม
รถขนส่งจุดที่ 25 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง มุกดาหาร
รถขนส่งจุดที่ 26 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ยโสธร
รถขนส่งจุดที่ 27 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ร้อยเอ็ด
รถขนส่งจุดที่ 28 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง เลย
รถขนส่งจุดที่ 29 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง สกลนคร
รถขนส่งจุดที่ 30 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง สุรินทร์
รถขนส่งจุดที่ 31 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ศรีสะเกษ
รถขนส่งจุดที่ 32 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง หนองคาย
รถขนส่งจุดที่ 33 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง หนองบัวลำภู
รถขนส่งจุดที่ 34 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง อุดรธานี
รถขนส่งจุดที่ 35 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง อุบลราชธานี
รถขนส่งจุดที่ 36 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง อำนาจเจริญ
รถขนส่งจุดที่ 37 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง กำแพงเพชร
รถขนส่งจุดที่ 38 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ชัยนาท
รถขนส่งจุดที่ 39 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง นครนายก
รถขนส่งจุดที่ 40 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง นครปฐม
รถขนส่งจุดที่ 41 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง นครสวรรค์
รถขนส่งจุดที่ 42 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง นนทบุรี
รถขนส่งจุดที่ 43 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ปทุมธานี
รถขนส่งจุดที่ 44 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง พระนครศรีอยุธยา
รถขนส่งจุดที่ 45 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง พิจิตร
รถขนส่งจุดที่ 46 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง พิษณุโลก
รถขนส่งจุดที่ 47 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง เพชรบูรณ์
รถขนส่งจุดที่ 48 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ลพบุรี
รถขนส่งจุดที่ 49 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง สมุทรปราการ
รถขนส่งจุดที่ 50 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง สมุทรสงคราม
รถขนส่งจุดที่ 51 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง สมุทรสาคร
รถขนส่งจุดที่ 52 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง สิงห์บุรี
รถขนส่งจุดที่ 53 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง สุโขทัย
รถขนส่งจุดที่ 54 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง สุพรรณบุรี
รถขนส่งจุดที่ 55 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง สระบุรี
รถขนส่งจุดที่ 56 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง อ่างทอง
รถขนส่งจุดที่ 57 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง อุทัยธานี
รถขนส่งจุดที่ 58 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง กระบี่
รถขนส่งจุดที่ 59 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ชุมพร
รถขนส่งจุดที่ 60 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ตรัง
รถขนส่งจุดที่ 61 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง นราธิวาส
รถขนส่งจุดที่ 63 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ปัตตานี
รถขนส่งจุดที่ 64 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง พังงา
รถขนส่งจุดที่ 65 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง พัทลุง
รถขนส่งจุดที่ 66 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง เก็ต
รถขนส่งจุดที่ 67 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ระนอง
รถขนส่งจุดที่ 68 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง สตูล
รถขนส่งจุดที่ 69 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง งขลา
รถขนส่งจุดที่ 70 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง สุราษฎร์ธานี
รถขนส่งจุดที่ 71 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ยะลา
รถขนส่งจุดที่ 72 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง กาญจนบุรี
รถขนส่งจุดที่ 73 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ตาก
รถขนส่งจุดที่ 74 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ประจวบคีรีขันธ์
รถขนส่งจุดที่ 75 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง เพชรบุรี
รถขนส่งจุดที่ 76 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ราชบุรี
แผนที่ท่องเที่ยวจังหวัดสงขลา
แผนที่ตัวเมืองสงขลา
ที่มาของชื่อ "สงขลา"
รถขนส่งจุดที่ 1 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง เชียงราย
รถขนส่งจุดที่ 2 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง เชียงใหม่
รถขนส่งจุดที่ 3 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง น่าน
รถขนส่งจุดที่ 4 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง พะเยา
รถขนส่งจุดที่ 5 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง แพร่
รถขนส่งจุดที่ 6 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง แม่ฮ่องสอน
รถขนส่งจุดที่ 7 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ลำปาง
รถขนส่งจุดที่ 8 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ลำพูน
รถขนส่งจุดที่ 9 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง อุตรดิตถ์
รถขนส่งจุดที่ 10 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง จันทบุรี
รถขนส่งจุดที่ 11 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ฉะเชิงเทรา
รถขนส่งจุดที่ 12 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ชลบุรี
รถขนส่งจุดที่ 13 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ตราด
รถขนส่งจุดที่ 14 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ปราจีนบุรี
รถขนส่งจุดที่ 15 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ระยอง
รถขนส่งจุดที่ 16 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง สระแก้ว
รถขนส่งจุดที่ 17 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง กาฬสินธุ์
รถขนส่งจุดที่ 18 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ขอนแก่น
รถขนส่งจุดที่ 19 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ชัยภูมิ
รถขนส่งจุดที่ 20 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง นครพนม
รถขนส่งจุดที่ 21 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง นครราชสีมา
รถขนส่งจุดที่ 22 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง บึงกาฬ
รถขนส่งจุดที่ 23 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง บุรีรัมย์
รถขนส่งจุดที่ 24 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง มหาสารคาม
รถขนส่งจุดที่ 25 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง มุกดาหาร
รถขนส่งจุดที่ 26 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ยโสธร
รถขนส่งจุดที่ 27 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ร้อยเอ็ด
รถขนส่งจุดที่ 28 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง เลย
รถขนส่งจุดที่ 29 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง สกลนคร
รถขนส่งจุดที่ 30 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง สุรินทร์
รถขนส่งจุดที่ 31 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ศรีสะเกษ
รถขนส่งจุดที่ 32 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง หนองคาย
รถขนส่งจุดที่ 33 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง หนองบัวลำภู
รถขนส่งจุดที่ 34 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง อุดรธานี
รถขนส่งจุดที่ 35 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง อุบลราชธานี
รถขนส่งจุดที่ 36 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง อำนาจเจริญ
รถขนส่งจุดที่ 37 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง กำแพงเพชร
รถขนส่งจุดที่ 38 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ชัยนาท
รถขนส่งจุดที่ 39 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง นครนายก
รถขนส่งจุดที่ 40 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง นครปฐม
รถขนส่งจุดที่ 41 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง นครสวรรค์
รถขนส่งจุดที่ 42 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง นนทบุรี
รถขนส่งจุดที่ 43 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ปทุมธานี
รถขนส่งจุดที่ 44 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง พระนครศรีอยุธยา
รถขนส่งจุดที่ 45 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง พิจิตร
รถขนส่งจุดที่ 46 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง พิษณุโลก
รถขนส่งจุดที่ 47 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง เพชรบูรณ์
รถขนส่งจุดที่ 48 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ลพบุรี
รถขนส่งจุดที่ 49 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง สมุทรปราการ
รถขนส่งจุดที่ 50 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง สมุทรสงคราม
รถขนส่งจุดที่ 51 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง สมุทรสาคร
รถขนส่งจุดที่ 52 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง สิงห์บุรี
รถขนส่งจุดที่ 53 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง สุโขทัย
รถขนส่งจุดที่ 54 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง สุพรรณบุรี
รถขนส่งจุดที่ 55 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง สระบุรี
รถขนส่งจุดที่ 56 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง อ่างทอง
รถขนส่งจุดที่ 57 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง อุทัยธานี
รถขนส่งจุดที่ 58 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง กระบี่
รถขนส่งจุดที่ 59 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ชุมพร
รถขนส่งจุดที่ 60 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ตรัง
รถขนส่งจุดที่ 61 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง นราธิวาส
รถขนส่งจุดที่ 63 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ปัตตานี
รถขนส่งจุดที่ 64 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง พังงา
รถขนส่งจุดที่ 65 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง พัทลุง
รถขนส่งจุดที่ 66 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง เก็ต
รถขนส่งจุดที่ 67 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ระนอง
รถขนส่งจุดที่ 68 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง สตูล
รถขนส่งจุดที่ 69 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง งขลา
รถขนส่งจุดที่ 70 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง สุราษฎร์ธานี
รถขนส่งจุดที่ 71 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ยะลา
รถขนส่งจุดที่ 72 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง กาญจนบุรี
รถขนส่งจุดที่ 73 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ตาก
รถขนส่งจุดที่ 74 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ประจวบคีรีขันธ์
รถขนส่งจุดที่ 75 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง เพชรบุรี
รถขนส่งจุดที่ 76 รถรับจ้างขนส่ง สงขลา ไปถึง ราชบุรี
แผนที่ท่องเที่ยวจังหวัดสงขลา
แผนที่ท่องเที่ยวจังหวัดสงขลา http0817684439.blogspot.com |
แผนที่ตัวเมืองสงขลา
แผนที่ตัวเมืองสงขลา http0817684439.blogspot.com |
ที่มาของชื่อ "สงขลา"
มีตำนานและเรื่องเล่าหลายเรื่องทั้งที่เป็นบันทึกและจากคำบอกเล่าถึงชื่อของเมืองสงขลาหลายประการด้วยกัน ซึ่งพอจะแจกแจงตามเอกสารที่มาได้ดังนี้
ชื่อเมืองสงขลาได้ปรากฏชื่อในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 แห่งกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ. 1893 ว่าเป็นเมืองประเทศราชในจำนวน 16 หัวเมือง และในเอกสารที่บันทึกโดยคนไทยอีกหลายฉบับที่ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องเมืองสงขลาได้บันทึกประวัติของชื่อเมืองสงขลาว่า มาจากบันทึกของพ่อค้า และนักเดินเรือชาวอาหรับเปอร์เซีย ระหว่างปี พ.ศ. 1993-2093 ในนามของเมือง "ซิงกูร์" หรือ "ซิงกอรา" แต่ในหนังสือประวัติศาสตร์เและการเมืองแห่งราชอาณาจักรสยามของนายนิโกลาส แซร์แวส เรียกชื่อเมืองสงขลาว่า "เมืองสิงขร" [4] โดยได้สันนิษฐานว่าคำว่าสงขลาในปัจจุบันน่าจะเพี้ยนมาจากคำว่า "สิงหลา" หรือ "สิงขร" แปลว่าเมืองสิงห์ เนื่องมาจากการที่พ่อค้าชาวเปอร์เซียอินเดีย ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น ได้แล่นเรือผ่านมาค้าขายและแลเห็นเกาะหนู-เกาะแมว ซึ่งเมื่อมองจากทะเลเข้าหาฝั่งในระยะไกล ๆ จะเห็นปรากฏเป็นภาพคล้ายสิงห์สองตัวหมอบเฝ้าปากทางเข้าเมืองสงขลา ชาวอินเดียจึงเรียกเมืองสงขลาในสมัยนั้นว่า "เมืองสิงหลา" ส่วนคนไทยเรียกว่า "เมืองสทิง" เมื่อแขกมลายูเข้ามาค้าขายกับเมืองสิงหลา ก็จะออกเสียงเพี้ยนเป็น "เซ็งคอรา" เมื่อฝรั่งเข้ามาค้าขายก็เรียกตามมลายูแต่เสียงเพี้ยนเป็นสำเนียงฝรั่งคือ "ซิงกอรา" (Singora) จากนั้นคนไทยพื้นถิ่นเองก็ได้เรียกตามเสียงมลายูและฝรั่งเพี้ยนเป็นคำว่า "สงขลา" ดังปัจจุบัน
นอกเหนือจากนี้ เอกสารชิ้นนี้ยังอธิบายต่อถึงความเป็นไปได้อีกสาเหตุหนึ่งว่า คำว่าสงขลาน่าจะเป็นการเรียกเพี้ยนมาจากคำว่า "สิงขร" ที่แปลว่าภูเขา เนื่องจากเมืองสงขลาในยุคดั้งเดิมตั้งอยู่เชิงเขา และต่อมาเจ้าเมืองคนแรกยังได้รับพระราชทานนามว่า "วิเชียรคีรี" ซึ่งสอดคล้องกับเมืองที่อยู่แถบภูเขา สอดคล้องกับสุภาวดี เชื้อพราหมณ์ ที่ได้บันทึกว่าสงขลาเพี้ยนมาจากภาษาสันสกฤตหรือภาษาบาลี เนื่องจากชาวอินเดียล่องเรืออ้อมแหลมมลายูมาสู่ฝั่งตะวันออก เมื่อมองจากทะเลเข้าสู่ฝั่งสงขลาแลเห็นภูเขาเป็นปราการธรรมชาติ จึงเรียกว่า สิงขระ หรือ สิงขร ซึ่งคำไทยสิงขร หมายถึง ภูเขา ต่อมาชาวตะวันตกจึงเรียกตาม และเพี้ยนเป็นคำว่า ซิงโกรา หรือ ซิงกอรา เช่นเดียวกันกับที่กล่าวมาข้างต้น
เหตุผลสุดท้ายที่เอกสารในเอกสารการศึกษาความเป็นไปได้ก็คือ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชวินิจฉัยไว้ว่า "สงขลา" เดิมชื่อสิงหนคร (สิง-หะ-นะ-คอน) แต่แขกชาวมลายูพูดเร็วและออกเสียงเพี้ยนกลายเป็น สิง-คะ-รา แต่ออกเสียงเป็น ซิงคะรา หรือ สิงโครา จนมีการเรียกเป็น ซิงกอรา[5] [6]
ในส่วนเอกสารของชาวตะวันตกที่กล่าวถึงสงขลาในช่วงเวลาต้น ๆ ซึ่งสามารถค้นย้อนหลังไปได้ถึงสามร้อยปีในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชโดยปรากฏชื่อเมืองสงขลาในแผนที่ของประเทศสยามที่ทำโดยนายเชอวาลีเย เดอ โชมอง ราชทูตของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสที่เข้ามาเมืองไทยระหว่าง พ.ศ. 2228 [7]
นับตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 5-6 การปรากฏตัวของเมืองท่า และแหล่งโบราณคดีที่แสดงว่า มีผู้คนจากต่างแดนเข้ามาปะทะสัมพันธ์ น่าจะมีเหตุผลจาก การแสวงหาโชคลาภและโภคทรัพย์ของผู้คนทางตะวันตกดั่งเช่น กรีซ และ โรมัน จึงทำให้ช่วงเวลาดังกล่าว เป็นช่วงเวลาของการค้นพบเส้นทางการค้าทางทะเลที่เกิดขึ้นใหม่ คู่ขนานและเชื่อมโครงข่ายกับเส้นทางการค้าทางบก
ต่อมาเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 8 ได้เกิดอุปสรรคทางภูมิศาสตร์และความปลอดภัย ในการใช้เส้นทางบกระหว่างดินแดนทางตะวันตกและตะวันออก โดยเฉพาะพวกโรมันและรัฐในกลุ่มเอเชียกลาง จึงหันมาใช้เส้นทางทะเลแทน เพื่อใช้ค้าขายติดต่อกับอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และจีน โดยการเดินทางเชื่อมระหว่างสองทวีปในระยะแรก ๆ นี้ ไม่ใช่เป็นการเดินทางแบบรวดเดียวถึงกันตลอด แต่ต้องมีจุดหยุดพักเป็นระยะ ๆ โดยอาศัยเมืองท่า และสถานีพักสินค้า เพื่อถ่ายสินค้า เพิ่มเติมน้ำจืดและอาหาร รวมไปถึงการซ่อมแซมเรือจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง [8]
ทั้งนี้หากย้อนกลับมาพิจารณาจากทำเลที่ตั้งของภาคใต้ของประเทศไทย ที่เป็นคาบสมุทรตั้งอยู่ระหว่างประเทศที่เป็นอู่อารยะธรรม คือ ประเทศจีน ประเทศอินเดีย ประเทศแถบอาหรับเปอร์เซีย และประเทศแถบชวา-มลายู จะพบว่า ดินแดนทางภาคใต้ของประเทศไทย เป็นดินแดนที่อยู่ในตำแหน่งเส้นทางการค้าขายทางทะเล รวมถึงเป็นดินแดนที่พ่อค้าชาวแขกมัวร์ ใช้เส้นทางนี้เดินทางค้าขายทางเรือ โดยอาศัยลมสินค้าในสมัยโบราณที่จำกัดโดยสภาพภูมิศาสตร์ และเทคโนโลยีการต่อเรือ รวมถึงการเดินเรือซึ่งในสมัยนั้น ต้องอาศัยทิศทางและกำลังลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ เพื่อเดินทางจากอินเดียไปยังจีน และอาศัยลมมรสุมจากตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อเดินทางจากจีนไปยังอินเดีย และบริเวณเหนือเส้นศูนย์สูตรไปถึงเส้นห้าองศาเหนือ เป็นพื้นที่อันตรายเพราะเป็นเขตจุดเริ่มต้นของลมสินค้า ลมจะสงบนิ่ง (ไร้กระแสลม เรียกว่าโดลดรัม Doldrums) เมื่อลมเบาบางจนทำให้เรือสินค้าเคลื่อนที่ไม่ได้ ที่เรียกว่า "ตกโลก"[9] ก็เป็นการบังคับให้พ่อค้าต้องแวะตามเมืองท่าชายฝั่งภาคใต้ของไทย ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของเส้นศูนย์สูตรเพื่อจอดซ่อมแซมเรือ เติมน้ำจืดและอาหาร รวมถึงขนถ่ายสินค้าข้ามคาบสมุทรกลางทางในรอบปี โดยการขนถ่าย แลกเปลี่ยนสินค้านี่เอง ทำให้เมืองท่าต่าง ๆ ในคาบสมุทรทางภาคใต้ของไทยในสมัยที่มีการเดินเรือทะเล มีความเจริญรุดหน้า จากการค้าขายเป็นอันมาก นอกจากนั้น สินค้าที่สำคัญที่ผลักดันให้ชาวตะวันตกต้องแสวงหาและเดินทางมายังเมืองท่าในคาบสมุทรมลายูคือ เครื่องเทศ เช่น ว่าน กระวาน ขิง ข่า ขมิ้น กระชาย พริกไทย กานพลู อบเชย ดีปลี จันทน์เทศ ทำให้เส้นทางการเดินเรือดังกล่าว ได้ชื่อว่าเป็นเส้นทางเครื่องเทศ [10]
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์เมืองสงขลาได้เริ่มต้นอย่างแท้จริง ประมาณพุทธศตวรรษที่ 22-24 โดยมีศูนย์กลางการปกครอง หรือ สถานที่ตั้งเมือง 3 แห่งโดยสามารถลำดับจากพัฒนาการ ได้แก่
- เมืองสงขลาฝั่งหัวเขาแดง (ก่อนพุทธศตวรรษที่ 22 ถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 23)
- เมืองสงขลาฝั่งแหลมสน
- เมืองสงขลาฝั่งบ่อยาง
สมัยเมืองสงขลาฝั่งหัวเขาแดง
เป็นยุคที่น่าจะมีมาก่อนพุทธศตวรรษที่ 22 ถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 23 โดยพิจารณาจากเจดีย์บนยอดเขาน้อยที่กำหนดอายุได้ไม่น้อยกว่า พุทธศตวรรษที่ 17-18 โดยปรากฏชื่อในเอกสารต่าง ๆ ของพ่อค้าชาวตะวันตกว่า Singora บ้าง Singor บ้าง น่าจะมีชื่อเมือง สิงขร สิงคะ แปลว่าจอม ที่สูงสุดยอดเขา และภาษาไทยว่า "สิงขร" เป็นความหมายที่สอดคล้องกับที่ตั้งเมืองสงขลา โดยช่วงเมืองสงขลาฝั่งหัวเขาแดงนี้อยู่ภายใต้การปกครองของ เจ้าเมืองและ ปฐมพลเมืองชาวมุสลิม ซึ่งได้อพยพและนำพลพรรคชาวแขกชวา หนีภัยจากโจรสลัดที่คุกคามอย่างหนัก ในแถบหมู่เกาะชวาล่องเรือมาขึ้นฝั่งบริเวณฝั่งหัวเขาแดง โดยปรากฏในเอกสารชาวต่างชาติที่มาค้าขาย เป็นต้นว่าในสำเนาจดหมายของนายแมร์ เทนเฮาท์แมน จากอยุธยา มีไปจนถึงนายเฮนดริก แจนเซน นายพานิชย์คนที่ 1 ชาวดัตช์ ที่ปัตตานีในปี พ.ศ. 2156 ออกชื่อเจ้าเมืองสงขลาในขณะนั้นว่า "โมกุล" [11] แต่ในบันทึกบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ ได้กล่าวถึงเมืองสงขลาในปี พ.ศ. 2165 เรียกชื่อเจ้าเมืองว่า "ดาโต๊ะโกมอลล์" [12] จึงพอสรุปได้ว่า ผู้สร้างเมืองฝั่งหัวเขาแดงประมาณกลางพุทธศตวรรษที่ 22 เป็นมุสลิมที่ชาวอังกฤษในสมัยอยุทธยาเรียกว่า "โมกุล" และ ชาว ดัตช์ เรียกว่า "โมกอล" โดย ดาโต๊ะโมกุล ได้ตั้งเมืองสงขลาบริเวณหัวเขาแดง เขาค่ายม่วงและ เขาน้อย ซึ่งน่าจะอยู่ระหว่าง พ.ศ. 2153 - 2154 [13] ซึ่งตรงกับสมัยพระเอกาทศรถ สุภัทร สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง ซึ่งเป็นเชื้อสายโดยตรงของสุรต่านสุไลมาน ได้เล่าว่า ประมาณ พ.ศ. 2145 ดาโต๊ะโมกอลซึ่งเคยปกครองเมืองสาเลย์ ที่เป็นเมืองลูก ของจาการ์ตา บนเกาะชวา (อินโดนีเซียในปัจจุบัน) ได้อพยพครอบครัว และบริวารหนีภัย การล่าเมืองขึ้น (ซึ่งใช้ปืนใหญ่จากเรือปืนยิงขึ้นฝั่งที่เรียกว่า Gunship policy) ลงเรือสำเภามาขึ้นฝั่งที่บริเวณบ้านหัวเขาแดง แขวงเมืองสงขลา เข้าใจว่าตระกูลนี้คงเคยเป็นตระกูลปกครองบ้านเมืองมาก่อน เมื่อเจอทำเลเหมาะสมหัวเขาแดง ท่านดะโต๊ะ โมกอล ก็ได้นำบริวารขึ้นบก แล้วช่วยกันสร้างบ้านแปลงเมือง และ ดัดแปลงบริเวณปากทางเข้าทะเลสาบสงขลาให้เป็นท่าจอดเรือขนาดใหญ่ ที่สามารถรับเรือสำเภา หรือ เรือกำปั่นที่ประกอบธุรกิจการค้าทางทะเล แวะเข้าจอดเทียบท่าได้ จนเมืองหัวเขาแดงในสมัยนั้น กลายเป็นเมืองท่าเรือระหว่างประเทศไป กิติศัพย์นี้โด่งดังไปจนถึงกรุงศรีอยุธยา ด้วยเหตุนี้สมเด็จพระเอกาทศรถ (พ.ศ. 2148 - 2153) จึงได้มีพระบรมราชโองการ แต่งตั้งให้ดะโต๊ะ โมกอล เป็นข้าหลวงใหญ่ของพระเจ้ากรุงสยาม ประจำเมืองพัทลุงอยู่ที่หัวเขาแดง แขวงเมืองสงขลา [14]
สุรต่านผู้ครองเมืองสงขลาได้ปกครองเมืองแบบรัฐสุรต่าน ของราชวงศ์ ออโตมาน ซึ่งการปกครองแบบนี้แพร่หลายเข้ามายังเกาะสุมาตรา เกาะชวา และรัฐสุรต่านต่าง ๆ ทางปลายแหลมมาลายู โดยสุลต่านผู้ปกครองเมืองสงขลาฝั่งหัวเขาแดงได้นับถือศาสนาอิสลาม นิกายสุนี่ จึงดำรงค์ตำแหน่งจุฬาราชมนตรี ส่วนบุตรชาย สามคนคือ มุสตาฟา ฮุสเซน และ ฮัสซัน ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสูงทาง กองทัพเรือ ผู้บัญชาการป้อม และ ตำแหน่งการปกครองอื่น ๆ ในระบอบการปกครองแบบสุลต่าน [15] ทายาทผู้สืบเชื้อสายสุลต่าลสุลัยมานมีอยู่ด้วยกันหลายสกุล โดยมี "ณ พัทลุง" เป็นมหาสาขาใหญ่
ปฐมการค้า กับ ฮอลันดา
ในระยะแรกของการตั้งเมืองสงขลา เจ้าเมืองได้ยอมรับในการตกเป็นเมืองที่อยู่ภายใต้การปกครองของกรุงศรีอยุธยา โดยสุรต่านผู้ครองเมือง ได้จัดส่งเครื่องราชบรรณาการซึ่งประกอบด้วยดอกไม้เงิน และ ดอกไม้ทอง แก่กรุงศรีอยุธยา โดยเจ้าเมืองสงขลาได้กำหนดทิศทางของการพัฒนาเมืองสงขลาฝั่งหัวเขาแดงเป็นลักษณะเมืองท่า ทำกิจการในแลกเปลี่ยนสินค้าในระดับนานาชาติ โดยเมืองท่านี้ได้ทำการค้าขายกับ ฮอลันดา โปรตุเกตุ อังกฤษ จีน อินเดีย และ ฝรั่งเศส ซึ่งประเทศคู่ค้าประเทศแรก ๆ ที่สามารถมีสัมพันธภาพที่ดีต่อ กรุงศรีอยุธยา ซึ่งเป็นเมืองหลวงของประเทศไทย และสามารถขยายความสัมพันธ์ทางการค้า มายังสงขลาคือ ฮอลันดา โดยเฉพาะระหว่างปี พ.ศ. 2171 - 2201 เป็นสมัยที่ฮอลันดา มีความมั่งคั่งจาก การผูกขาดเครื่องเทศแต่เพียงผู้เดียว โดยฮอลันดาสามารถกำจัดคู่แข่งทางการค้าอื่น ๆ เช่น โปรตุเกตุ อังกฤษ และ พ่อค้ามุสลิม ให้ห่างจากเส้นทางการค้า มีผลทำให้ให้ฮอลันดามีความมั่งคั่ง และ มีอำนาจขึ้นในยุโรป และ ตะวันออกไกล ครั้นถึงปี พ.ศ. 2584 ชาวดัตช์สามารถยึดเมืองมะละกาซึ่งเป็นศูนย์กลางการค้าทางทะเลที่สำคัญได้จากโปรตุเกส จึงใช้มะละกาเป็นศูนย์กลางการค้าขายกับจีน และญี่ปุ่นโดยตรง [16] โดยมีบันทึกหลาย ๆ ฉบับ ได้กล่าวถึงการค้าขายบริเวณเมืองท่าสงขลาฝั่งหัวเขาแดง ดังนี้
- จดหมายของนายคอร์เนลิส ฟอน นิวรุท จากห้างดัตช์ ที่กรุงศรีอยุทธยา ไปถึงหอการค้าเมืองอัมสเตอร์ดัม ประเทศฮอลันดา เมื่อ พ.ศ. 2160 กล่าวถึงเมืองสงขลาไว้ว่า "ขณะนี้พ่อค้าสำคัญ ๆ ได้สัญญาว่าจะแวะเมืองสิงขระ (สงขลาฝั่งหัวเขาแดง) "[17]
- จดหมายของ จูร์แคง ชาวอังกฤษได้รายงานไปที่ห้างอังกฤษ บนเกาะชวาเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2164 ได้กล่าวถึงการค้าขายที่เมืองสงขลาฝั่งหัวเขาแดงไว้ว่า "พวกดัชใช้เรือขนาดเล็กที่เรียกว่า แวงเกอร์ โดยมีเรือขนาดเล็กนี้มีอยู่ประมาณ 4-5 ลำ ประจำที่สิงขระ เพื่อกว้านซื้อพริกไทยจากพ่อค้าชาวพื้นเมืองที่เข้ามาขายให้"[18]
- บันทึกของ โยเกสต์ สเกาเตน ผู้จัดการห้างฮอลันดา ในสมัยพระเจ้าปราสาททอง หนังสือแต่งเมื่อ พ.ศ. 2179 ดังคำแปลในประชุมพงศาวดาร ภาค 76 กล่าวว่า "พวกเราชาวฮอลันดาได้เข้ามาอยู่ในอาณาจักรสยามได้ 30 ปีแล้ว และได้รับการต้อนรับเป็นอย่างดีจากพระมหากัตริย์ตลอดมา การค้าขายของเราถึงจะไม่ได้รับกำไรมากมายจนเกินไป แต่กระนั้นพวกเรายังได้รับไมตรีจิต มิตรภาพจากพระมหากษัตริย์ มากกว่าชนชาติยุโรปอื่นได้รับ"[19] ซึ่งสอดคล้องกับการพบสุสานของชาวฮอลันดาอยู่ ณ บริเวณสุสานวิลันดา ในบริเวณพื้นที่เมืองเก่าสงขลาฝั่งหัวเขาแดง
เนื่องจากการที่เมืองสงขลาฝั่งหัวเขาแดงเป็นเมืองคู่ค้าที่สำคัญ กับฮอลันดา ทำให้เมืองสงขลาได้รับการคุ้มครอง และ การสนับสุนด้านต่าง ๆ จากฮอลันดาเป็นอย่างมาก จนกระทั่งทำให้เมืองสงขลา โดย สุลต่านสุไลมาน ฉวยโอกาส แข็งเมืองในช่วงกบฏกรุงศรีอยุธยาใน รัชสมัยพระเจ้าปราสาททอง ซึ่งผลจากการแข็งเมืองนี้เองทำให้ สุลต่านสุไลมานประกาศตัวเป็น พระเจ้าสงขลาที่ 1 และ ดำเนินการค้าโดยตรงกับนานาประเทศโดยเฉพาะ ประเทศฮอลันดา ซึ่งแทบจะเรียกได้ว่า ฮอลันดาได้ทำการค้าเพื่อเอาใจ และสัมพันธ์ด้านประโยชน์ทางการค้า ทั้งกรุงศรีอยุธยาและสงขลา ไปในคราเดียวกัน ดั่งปรากฏหลักฐานว่า พระเจ้าปราสาททอง แห่งอยุธยาได้เคย ขอให้ฮอลันดาช่วยปราบกบฏเมืองสงขลา แต่ฮอลันดากลับไม่ได้ตั้งใจช่วยอย่างจริงจังตามที่ได้แสดงเจตนาไว้ ซ้ำยังให้ความช่วยเหลือเมืองสงขลาด้วยในคราเดียวกัน ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างเมืองสงขลาฝั่งหัวเขาแดง กับฮอลันดา ยิ่งทวีความแน่นแฟ้นขึ้นตามลำดับ โดยไม่มีบทบาทของกรุงศรีอยุธยามาแทรกแซง จนฮอลันดาสนใจจะเปิดสถานีการค้ากับเมืองสงขลาฝั่งหัวเขาแดง
ตามบันทึกของ ซามูเอล พอทท์ส ซึ่งไปสำรวจภาวะตลาดในเอเซียเมื่อปี พ.ศ. 2221 ได้บรรยายว่าเจ้าเมืองสงขลาต้อนรับเป็นอย่างดีที่วังของเมือง แสดงความเป็นกันเอง พร้อมทั้งตั้งข้อเสนอหลายอย่างที่เป็นการจูงใจให้เข้าไปค้าขาย เช่น จะไม่เก็บอากรบ้าน จะหาบ้านและที่อยู่ให้ [20] โดยปรากฏหลักฐานสนับสนุนเรื่องนี้จากจากแผนที่ซึ่งทำโดยชาวฝรั่งเศส ได้ระบุว่า มีหมู่บ้านของชาวฮอลันดาปรากฏอยู่ในแผนที่ นอกเหนือจากการปรากฏหลักฐานของสุสานชาวดัตช์ อยู่ใก้ลที่ฝังศพ สุลต่านสุไลมานซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของเมืองสงขลาฝั่งหัวเขาแดง โดยมีหลุมศพเหล่านี้กระจัดกระจายอยู่ประมาณ 22 หลุม [21] ซึ่งชาวบ้านได้เรียกที่ฝังศพนี้ว่า "วิลันดา" ซึ่ง หนึ่งในยี่สิบสอง หลุมนี้อาจเป็นตัว ซามูเอล พอทท์ส หรือ พรรคพวกเองก็เป็นได้ [22]
Thank you for sharing this article. It is an amazing post, I am really impressed by your post. It’s really useful mcafee.com/activate
ตอบลบwww.mcafee.com/activate