วันจันทร์ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2557

รถรับจ้างเที่ยวเปล่าอยู่ในจังหวัดอ่างทอง



รถรับจ้างเที่ยวเปล่าอยู่ในจังหวัดอ่างทอง
รถรับจ้างอ่างทอง
 ให้บริการด้านรถรับจ้างอ่างทองรถหกล้อรับจ้างย้ายบ้าน,บริการงานขนส่ง ,รับจัดส่งสินค้า รถรับจ้าง ขน ส่ง ยก ย้าย สิ่งของต่างๆ บริการด้วยความซื่อตรง เราให้บริการรถรับจ้างอ่างทอง ตลอด 24 ชั่วโมง เพียงท่านคิดจะย้าย คิดถึงรถขนของคิดถึงเราทันที "สมาคมรถรับจ้างไทย" ,รถรับจ้างอ่างทองด้วยราคายุติธรรม ไม่แพงอย่างที่ท่านคิด เพียงท่านยกหูหาเราเท่านั้น มีรถรับจ้างจังหวัดอ่างทอง นัดล่วงหน้าราคาพิเศษ มีรถล่องทั่วไทย
...ยินดีต้อนรับบริการรถรับจ้าง ขนของ ย้ายบ้าน ขน ส่ง ยก ย้าย สิ่งของต่างๆ ราคาถูกมาก มีรถบรรทุกประจำจังหวัดอ่างทอง ... 
รถบรรทุก
บริการรถรับจ้างอ่างทอง รถรับจ้างบริการขนย้าย 6 ล้อ 10 ล้อ ขนของ ขนส่ง ขนย้าย สินค้าต่างๆ ทั่วประเทศ พนักงานยก รับงานขนย้าย ย้ายบ้าน ย้ายคอนโด ย้ายหอพัก สำนักงาน ออฟฟิศ ท่านใดสนใจหรือมีงานเร่ง งานด่วน สามารถติดต่อเราได้ทันที บริการรถรับจ้าง ตลอด 24 ชั่วโมง มีรถ 6 ล้อ บริการขนย้ายสินค้าพร้อมพนักงานยกของ งานบูธสินค้า งานก่อสร้าง ย้ายบ้าน สำนักงาน โดยทีมงานมืออาชีพมีประสบการณ์มากกว่า 15 ปี

 **ท่านใดสนใจสามารถติดต่อ ทีมงาน สมาคมรถรับจ้างไทย บริการ รถรับจ้างอ่างทอง**

 พร้อมทั้งเรายัง บริการ,รถรับจ้างขนของย้ายบ้าน อ่างทอง ,รถ 10 ล้อรับจ้าง ขนย้ายเพื่องานแสดงโชว์ ออกบูธ ตามสถานที่ต่างๆ  รับผิดชอบงานทุกงาน ตรงต่อเวลา ด้วยการให้บริการด้านรถรับจ้างนานนับสิบปี เรารู้ความต้องการของท่าน เราตอบโจทย์ท่านได้ บริการด้านรถรับจ้าง ทั่วไทย ต้องเราเท่านั้น

หากคุณต้องการย้ายบ้าน ย้ายหอพัก หรือย้ายของหนักๆในอย่างเฟอร์นิเจอร์ เครื่องใช้ไฟฟ้าชิ้นใหญ่ๆ ในอ่างทองสามารถใช้บริการรถรับจ้างเพื่อความสะดวกในการขนย้าย ทั้งนี้เพราะหากคุณไม่มีรถส่วนตัวการขนย้ายของชิ้นใหญ่หรือการย้ายบ้านจะเป็นเรื่องที่ยุ่งยากมาก หรือหากมีรถส่วนตัวแต่มีขนาดเล็กหรือไม่เหมาะแก่การบรรทุกของมากๆ  การเรียกใช้บริการรถรับจ้างเป็นเรื่องที่สามารถแก้ไขปัญหาของคุณได้อย่างง่ายดาย  นอกจากนี้หากต้องการย้ายของที่มีเป็นจำนวนมาก การใช้รถส่วนตัวเพื่อขนย้ายของจะมีความยุ่งยากมาก และอาจต้องใช้เวลาในการขนย้ายหลายเที่ยวกว่าจะหมด  ดังนั้นบริการรถรับจ้าง 4 ล้อ 6 ล้อ 10 ล้อที่มีพื้นที่เพียงพอในการบรรจุของชิ้นใหญ่หรือจำนวนมากจึงเป็นการประหยัดเงินและเวลามากกว่า
รถกระบะ
มันจะดีกว่าหรือว่าถ้าหากว่าการขนย้ายสินค้าของคุณนั้นไม่ต้องกังวลเกี่ยวกับการสูญหายสินค้าระหว่างทาง หรือการใช้บริการรถบรรทุกที่คุณไม่สามารถตรวจสอบการทำงานได้เลย จนกว่าสินค้าจะไปถึงที่หมาย เราเลยภูมิใจที่จะนำเสนอการให้บริการรถบรรทุกในจังหวัดอ่างทองที่มีความเป็นมืออาชีพ และให้บริการโดยเจ้าหน้าที่ที่มีความเป็นมืออาชีพ และมีประสบการณ์การทำงานมาโดยตรง และนอกจากนี้เราก็ยังมีสาขาที่เปิดให้บริการแก่ลูกค้าของเราในทั่วทุกพื้นที่ของประเทศไทยอีกด้วย

 รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านอ่างทอง

รถ6ล้อ
บริการรถสิบล้อรับจ้างทั่วไปในจังหวัดอ่างทอง หากท่านอยู่ในจังหวัดอ่างทอง และต้องการใช้บริการรถสิบล้อรับจ้างวิ่งงานไม่ว่าจะเป็นงานขนย้ายบ้าน ขนย้ายอุปกรณ์สำนักงาน ขนย้ายเครื่องใช้ครัวเรือน ขนย้ายเฟอร์นิเจอร์ ตู้ โต๊ะ เตียง หรือจะต้องการเช่ารถกระบะเราไปวิ่งงานบรรทุกสินค้า รับส่งสินค้าภายในจังหวัดหรือนอกจังหวัดใกล้เคียงเราก็สามารถช่วยเหลือท่านได้นะครับ ด้วยอัตราค่าบริการที่กันเอง และราคาไม่ได้สูงอย่างที่ทุกท่านคิด หากท่านใดสนใจโทรเข้ามาสอบถามเราได้เลยนะครับ

บริการรถรับจ้างคลอบคลุมทุกอำเภอในจังหวัดอ่างทอง
·         อำเภอไชโย


รถสิบล้อ
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอไชโย
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอป่าโมก
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอโพธิ์ทอง
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอเมืองอ่างทอง
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอวิเศษชัยชาญ
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอแสวงหา
รถรับจ้างเที่ยวเปล่า อำเภอสามโก้



บริการถรับจ้างทั่วไปในจังหวัดอ่างทองเราคือผู้ให้บริการรถรับจ้างมืออาชีพในลำดับต้นๆของประเทศไทยเรามีทั้งพนักงานที่ดีมีคุณภาพระบบเครื่องยนต์ที่ดีเยี่ยมและบริการรับจ้างที่มากมายหลากหลายรูปแบบไม่ว่าท่านจะต้องการย้ายห้องย้ายหอย้ายสำนักงานขนของหรือแบกบรรทุกตู้โชว์แสดงสินค้าขนาดใหญ่เราก็สามารถให้บริการท่านได้ครับแถมพนักงานของเรานั้นสามารถช่วยขนย้ายสิ่งของของท่านได้ด้วยครับเพื่อที่ท่านจะได้สะดวกสบายและเบาแรงกับลูกค้าของเรามากขึ้น
การซ่อมบำรุงรถบรรทุก การเลือกศูนย์ซ่อมในระดับมาตรฐาน
เป็นธรรมดาของผู้ใช้รถที่จะต้องประสบปัญหาเรื่องรถอยู่ในสภาพที่ไม่พร้อมใช้งาน หรือสภาพที่เราเรียกว่า ‘’ ต้องเข้าศูยน์ซ่อมรถกันแล้ว’’ เราจะเลือกที่ไหนดี ยังไงดี ด้วยเหตุผลและความกลัวนานัปประการ จึงทำให้ท่านเจ้าของรถหลายต่อหลายคันไม่กล้าส่งรถยนต์ของตัวเองนั้นเข้าไปซ่อมที่ศูนย์ วันนี้เราจะมีวิธีมาแนะนำเพื่อเป็นเทคนิคในการเลือกส่งรถของท่านนั้นเข้าไปซ่อมที่ศูนย์

1.มาตรฐานด้านสถานที่
ลองพิจารณาดูพื้นที่ ขนาด กว้างขวาง ความสะอาด และมีการแบ่งส่วนการทำงานอย่างชัดเจน ในสถานที่ประกอบการนั้น แบ่งเป็นระเบียบเรียบร้อยดี มีเครื่องดับเพลิง เพราะคำนึงถึงความปลอดภัยจากการทำงาน และเรื่องสภาพสิ่งแวดล้อมก็ดูจะเป็นเรื่องที่สำคัญอีกประการหนึ่ง มีที่จอดรถเพียงพอหรือไม่ มีพนักงานคอยดูแลความปลอดภัยในการจัดเก็บรถยนต์ของลูกค้าหรือไม่ในกรณีที่รถยนต์ของลูกค้าต้องอยู่ที่ศูนย์ซ่อมนานกว่า 1 วัน รวมทั้งสถานที่ตั้งที่เหมาะสมจะต้องจัดให้มีห้องรับรองหรือเก้าอี้ไว้รองรับบริการ สำหรับลูกค้าที่มารอรับบริการอย่างเป็นสัดส่วน และพนักงานเจ้าหน้าที่สามารถประเมินระยะเวลาในการซ่อมแต่ละครั้งแบบคร่าวๆ ได้

2.มาตรฐานด้านบริการ
พนักงานให้บริการด้วยความยิ้มแย้มแจ่มใส ให้บริการอย่างมีไมตรีจิต และมีอัธยาศัยที่ดีในการบริการต่อลูกค้า และมีความซื่อสัตย์ และมีความรับผิดชอบในงานที่รับผิดชอบดี หรือหากเราสอบถามหรือซักถามข้อสงสัยต่างๆนั้น พนักงานที่บริการควรที่จะให้คำแนะนำและให้ความรู้เราได้ ไม่ใช่ถามอะไรแล้วเงียบหรือตอบไม่ได้ทุกครั้ง เพราะนั้นหมายถึงพนักงานที่นี้ขาดการใส่ใจและไม่มีความรู้พอในการให้บริการ

3.มาตรฐานการซ่อมตัวถัง แบ่งเป็น 2 ระดับ คือ
-         งานซ่อมหนัก กำหนดให้มีแท่นดึงและเครื่องยกตัวรถ ที่ได้มาตรฐาน เพื่อซ่อมดึงตัวถังรถยนต์ที่เกิด ความเสียหายให้ตรงตามมาตรฐานของบริษัทผู้ผลิต
-         งานซ่อมเบา กำหนดให้มีเครื่องเชื่อมสปอตสำหรับดึงกระตุกตัวถังบุบ มีลิฟท์ยกรถ 2 เสา เครื่องเชื่อ CO2 และเครื่องมืออื่นๆ ที่เป็นมาตรฐานในการซ่อม

4.มาตรฐานการซ่อมสี
กำหนดให้ใช้สี 2 K หรือสีแห้งช้า ด้วยคุณสมบัติที่ดีเยี่ยม ของระบบสีแห้งช้า 2 K ทำให้การซ่อมรถที่ได้รับอุบัติเหตุ
มานั้น ได้คุณภาพใกล้เคียงสีเดิมมากที่สุด ให้สีสันที่เงางามและมีความคงทนยาวนานกว่า

5.มาตรฐานด้านอื่นๆ
กำหนดให้มีอุปกรณ์ป้องกันเพื่อความปลอดภัยขณะทำงาน เช่น หน้ากาก แว่นตา ถุงมือ ฯลฯ ความเอาใจใส่ต่อสภาพแวดล้อม
ทั้งหมดนี้คือเทคนิคและข้อควรรู้ในการเลือกศูนย์ซ่อมรถยนต์ที่เจ้าของรถยนต์อย่างเราๆ ควรที่จะรู้ เพื่อที่จะได้ไม่ถูกเอาเปรียบและไม่เป็นการเสียรู้ในเรื่องรถยนต์

ริการรถหกล้อรับจ้างจังหวัดอ่างทอง

 บริการรถหกล้อรับจ้างจังหวัด นี่สิบริษัทของเขามีพร้อมครบทุกอย่างที่ต้องการไม่ว่าจะเป็นรถหกล้อที่มีสภาพที่แข็งแรงพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลาไม่มีการเสียขณะทำงาน เพราะทีมงานของเขาจะคอยเช็ครถกันเป็นประจำทำให้เราสบายใจได้ว่ารถของเขาจะไม่เสียขณะทำงานทำให้งานของคุณต้องมาสะดุดกลางทางอย่างแน่นอนร้อยเปอร์เซ็นต์รับรองได้เลย บางทีมงานอาจจะเคยเจอรถเสียขณะทำงานแต่ของบริษัทนี้ชัวร์แน่นอนรับประกันการทำงานละวางใจได้เลย


บริการรถกระบะ4ล้อรับจ้างจังหวัดอ่างทอง

หากคุณต้องการรถกระบะที่นี่เขาพร้อมตลอดเวลาที่จะให้บริการกับคุณทุกคนตลอด24ชั่วโมงไม่ว่าจะเป็นเวลาดึกขนาดไหนโทรติดต่อกันมาได้เลยไม่ผิดหวังอย่างแน่นอนและยังมีบริการรถรับจ้างอื่นๆอีกมากมายให้คุณนั้นได้เลือกใช้กันในราคาที่เป็นกันเองเบาๆคุณวางใจได้เลย อย่าพลาดกับโอกาสดีๆแบบนี้กันละรับรองว่าคุ้มมากกับบริการที่ดีของเขาอย่างแน่นอนแล้วจะติดใจบริการรถกระบะรับจ้างที่นี่เราเน้นการให้บริการแก่ลูกค้าเป็นต้น


รถขนส่งจุดที่ 1 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง เชียงราย
รถขนส่งจุดที่ 2 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง เชียงใหม่
รถขนส่งจุดที่ 3 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง น่าน
รถขนส่งจุดที่ 4 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง พะเยา
รถขนส่งจุดที่ 5 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง แพร่
รถขนส่งจุดที่ 6 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง แม่ฮ่องสอน
รถขนส่งจุดที่ 7 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง ลำปาง
รถขนส่งจุดที่ 8 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง ลำพูน
รถขนส่งจุดที่ 9 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง อุตรดิตถ์
รถขนส่งจุดที่ 10 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง จันทบุรี
รถขนส่งจุดที่ 11 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง ฉะเชิงเทรา
รถขนส่งจุดที่ 12 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง ชลบุรี
รถขนส่งจุดที่ 13 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง ตราด
รถขนส่งจุดที่ 14 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง ปราจีนบุรี
รถขนส่งจุดที่ 15 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง ระยอง
รถขนส่งจุดที่ 16 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง สระแก้ว
รถขนส่งจุดที่ 17 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง กาฬสินธุ์
รถขนส่งจุดที่ 18 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง ขอนแก่น
รถขนส่งจุดที่ 19 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง ชัยภูมิ
รถขนส่งจุดที่ 20 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง นครพนม
รถขนส่งจุดที่ 21 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง นครราชสีมา
รถขนส่งจุดที่ 22 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง บึงกาฬ
รถขนส่งจุดที่ 23 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง บุรีรัมย์
รถขนส่งจุดที่ 24 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง มหาสารคาม
รถขนส่งจุดที่ 25 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง มุกดาหาร
รถขนส่งจุดที่ 26 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง ยโสธร
รถขนส่งจุดที่ 27 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง ร้อยเอ็ด
รถขนส่งจุดที่ 28 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง เลย
รถขนส่งจุดที่ 29 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง สกลนคร
รถขนส่งจุดที่ 30 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง สุรินทร์
รถขนส่งจุดที่ 31 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง ศรีสะเกษ
รถขนส่งจุดที่ 32 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง หนองคาย
รถขนส่งจุดที่ 33 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง หนองบัวลำภู
รถขนส่งจุดที่ 34 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง อุดรธานี
รถขนส่งจุดที่ 35 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง อุบลราชธานี
รถขนส่งจุดที่ 36 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง อำนาจเจริญ
รถขนส่งจุดที่ 37 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง กำแพงเพชร
รถขนส่งจุดที่ 38 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง ชัยนาท
รถขนส่งจุดที่ 39 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง นครนายก
รถขนส่งจุดที่ 40 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง นครปฐม
รถขนส่งจุดที่ 41 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง นครสวรรค์
รถขนส่งจุดที่ 42 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง นนทบุรี
รถขนส่งจุดที่ 43 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง ปทุมธานี
รถขนส่งจุดที่ 44 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง พระนครศรีอยุธยา
รถขนส่งจุดที่ 45 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง พิจิตร
รถขนส่งจุดที่ 46 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง พิษณุโลก
รถขนส่งจุดที่ 47 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง เพชรบูรณ์
รถขนส่งจุดที่ 48 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง ลพบุรี
รถขนส่งจุดที่ 49 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง สมุทรปราการ
รถขนส่งจุดที่ 50 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง สมุทรสงคราม
รถขนส่งจุดที่ 51 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง สมุทรสาคร
รถขนส่งจุดที่ 52 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง สิงห์บุรี
รถขนส่งจุดที่ 53 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง สุโขทัย
รถขนส่งจุดที่ 54 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง สุพรรณบุรี
รถขนส่งจุดที่ 55 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง สระบุรี
รถขนส่งจุดที่ 56 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง อ่างทอง
รถขนส่งจุดที่ 57 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง อุทัยธานี
รถขนส่งจุดที่ 58 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง กระบี่
รถขนส่งจุดที่ 59 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง ชุมพร
รถขนส่งจุดที่ 60 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง ตรัง
รถขนส่งจุดที่ 61 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง นราธิวาส
รถขนส่งจุดที่ 63 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง ปัตตานี
รถขนส่งจุดที่ 64 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง พังงา
รถขนส่งจุดที่ 65 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง พัทลุง
รถขนส่งจุดที่ 66 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง เก็ต
รถขนส่งจุดที่ 67 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง ระนอง
รถขนส่งจุดที่ 68 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง สตูล
รถขนส่งจุดที่ 69 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง งขลา
รถขนส่งจุดที่ 70 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง สุราษฎร์ธานี
รถขนส่งจุดที่ 71 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง ยะลา
รถขนส่งจุดที่ 72 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง กาญจนบุรี
รถขนส่งจุดที่ 73 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง ตาก
รถขนส่งจุดที่ 74 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง ประจวบคีรีขันธ์
รถขนส่งจุดที่ 75 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง เพชรบุรี
รถขนส่งจุดที่ 76 รถรับจ้างขนส่ง อ่างทอง ไปถึง ราชบุรี


เช่ารถขนส่งอ่างทอง

บริการรถรับจ้างขนย้ายอ่างทอง เวลาในเมืองไทย ถือได้ว่าหมายความว่าอีกหนึ่งแบบของกิจการค้าการให้บริการที่เติบใหญ่หมายถึงอย่างมากตามระบบเศรษฐกิจพร้อมด้วยการคมนาคมที่ฉลุยไวขึ้นของสยามพร้อมด้วยแน่นอนว่านั่นเป้นเรื่องที่ดีไปแล้วเพราะธุรกิจที่ตอบโตนี้ทำให้เราได้รับผลิตภัณฑ์ที่สะดวกไวขึ้นมากนั่นเอง ซึ่งอะไหล่หนึ่งก็กล้าหาญจะเกิดจากระบบการขับเคี่ยวสำหรับแย่ง
ผู้ซื้อกันของบริษัทผู้ให้บริการรถรับจ้างขนย้ายผลิตภัณฑ์ภายในประเทศหรือนอกสยามนั่นเอง ถิ่นจำต้องจัดโปรโมชั่นไม่ใช่หรือวิวัฒน์คุณลักษณะงานบริการของตนให้ได้เปรียบบุคคลอื่นเข้าอยู่ล้วนนั่นเอง
บริการรถรับจ้างขนส่งผลิตภัณฑ์ข้างในสยามที่ได้รับแบบอย่างมากๆ กล้าจะบอกไม่ได้นักว่าเป็นบริการจากทาง


บริษัทผู้ให้บริการรายใด อย่างไรก็ตามอย่างนิดหน่อยฉันก็เชี่ยวชาญบอกให้ทราบได้ว่าบริการรถรับจ้างขนของซื้อของขายข้างในประเทศไทยที่ได้รับความการตั้งกฎเกณฑ์ไม่เบาที่สุดก็คือบริการรถบรรทุกของซื้อของขายอ่างทอง นั่นเอง เกี่ยวพันจากบริการประเภทนี้จะเชี่ยวชาญตอบสนองต่อความต้องการการขนของซื้อของขายได้
ไม่เบาและเร็วที่สุดวิธีหนึ่งในเรื่องที่ธานีนั้นไม่มีสนามบินแบบอาทิเช่นอ่างทอง ทำการให้การขนของซื้อของขายด้วยรถบรรทุกเป็นวิธีการที่น่าจะเร็วที่สุด ราบรื่นพร้อมทั้งถูกที่สุดนั่นเอง
หากหากว่าเป็นขนย้ายผลิตภัณฑ์ในคราวทางสั้นแล้วการใช้งานรถหกล้อรับจ้างจังหวัดอ่างทอง ควรจะจะเป็นบริการที่ตอบโจทย์ได้มากที่สุดๆเพราะรถหกล้อรับจ้างซึ่งจัดว่าเป็นรถบรรทุกของซื้อของขายขนาดกลางนั้นมีปริมาณการขนย้ายที่จัดได้ว่ามากในระดับหนึ่งและมีราคาค่าว่าจ้างที่ถูก เก่งเข้าถึงพื้นที่แคบๆเจริญกว่ารถสิบล้อสินค้าความจุที่โตกว่านี้นั่นเอง อย่างไรก็ตามก็มีข้อเสียกว่าในเรื่องราวของการก่อเรื่องขึ้นรวดเร็วทันใจนั่นเอง


แต่ถ้าถ้าว่าเป็นย้ายผลิตภัณฑ์ในเวลาทางไกลลิบแล้วฉันขอพินิตรถบรรทุกสินค้า 2 ต้นแบบ เอ็ดคือรถ 10 ล้อรับจ้างอ่างทอง เนื่องจากรถ 10 ล้อนั้นมีจุดแข็งในเรื่องของโควตาการบรรทุกได้มากพร้อมทั้งสามารถขนย้ายสินค้าได้ฉับพลัน ค่าค่าจ้างงานไปในระดับกลาง ซึ่งรถ 10 ล้อรับจ้างตรงนั้นสามารถตอบปัญหาการขนได้ทั้งของซื้อของขายถ้วนทั่วของซื้อของขายทางการกสิกรรมและสิ่งของที่มีขนาดใหญ่ๆด้วยนั่นเอง นอกจากนี้รถรับจ้างสิบล้อของฉัน อีกทั้งเก่งให้บริการด้านอื่นๆ หาได้อีกแยะบริการกันเลย
พร้อมด้วยรถขนประเภทที่ 2 ที่พินิตก็หมายความว่ารถเทรลเลอร์พร้อมด้วยรถพ่วงจังหวัดอ่างทอง ข้อดีของรถ 2 ลักษณะนี้หมายถึงความไวนั่นเอง ซึ่งรถลักษณะนี้เหมาะหับการขนส่งของซื้อของขายมูลค่าสูงทั้งทางฝ่ายปริมารวิธีรถพ่วงซึ่งมีส่วนแบ่งการขนส่งมาก พร้อมกับฝ่ายมูลค่าของซื้อของขายอย่างรถเทรลเลอร์ซึ่งมักจะถูกนำมาใช้ในการขนย้ายของซื้อของขายอย่างรถนั่นเอง ทำการให้
มูลค่าค่าจ้างงานของรถบรรทุกสังคมนี้มีราคาสูงที่สุดนั่นเอง ลองมาใช้บริการกันดู จากนั้นคุณจะไม่ล้มเหลวอย่างชัวร์


 เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง:   http://phone0831514162.blogspot.com/

facebook:                   https://www.facebook.com/AngThong4610


แผนที่ท่องเที่ยวจังหวัดอ่างทอง
แผนที่ท่องเที่ยวจังหวัดอ่างทอง http0817684439.blogspot.com
 แผนที่ตัวเมืองอ่างทอง  
แผนที่ตัวเมืองอ่างทอง   http0817684439.blogspot.com

สัญลักษณ์ประจำจังหวัด

  • คำขวัญประจำจังหวัด คือ พระสมเด็จเกษไชโย หลวงพ่อโตองค์ใหญ่ วีรไทยใจกล้า ตุ๊กตาชาววัง โด่งดังจักสาน ถิ่นฐานทำกลอง เมืองสองพระนอน
  • ตราประจำจังหวัด คือ รูปอ่างทอง ในอ่างมีรวงข้าวและใบข้าว จังหวัดอ่างทองเป็นที่ราบลุ่ม มีลักษณะเป็นแอ่งรับน้ำภูมิประเทศเหมาะแก่การเพาะปลูก ดวงตราของจังหวัดจึงเป็นรูปอ่างสีทองซึ่งหมายถึงความอุดมสมบูรณ์ของจังหวัด และในอ่างมีรวงข้าวและใบข้าวซึ่งหมายถึงการทำนา อาชีพหลักของคนในภูมิภาคนี้
  • ต้นไม้ประจำจังหวัด คือ มะพลับ (Diospyros malabarica)
  • สัตว์น้ำประจำจังหวัด คือ ปลาตะเพียนทอง (Barbonymus altus)

ภูมิศาสตร์

ที่ตั้งและอาณาเขต

จังหวัดอ่างทองเป็นพื้นที่ราบลุ่มภาคกลาง พิกัดภูมิศาสตร์เส้นรุ้งที่ 14 องศา 35 ลิปดา 12 พิลิปดาเหนือ เส้นแวงที่ 100 องศา 27 ลิปดา ห่างจากกรุงเทพมหานครมาตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 (บางปะอิน-พยุหะคีรี) ระยะทางประมาณ 108 กิโลเมตร และเส้นทางเรือตามแม่น้ำเจ้าพระยาถึงตลาดท่าเตียน ระยะทางประมาณ 120 กิโลเมตร มีรูปร่างลักษณะคล้ายรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีส่วนกว้างตามแนวทิศตะวันออกถึงทิศตะวันตก และส่วนยาวตามแนวทิศเหนือถึงทิศใต้ใกล้เคียงกัน คือ ประมาณ 40 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 968.372 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 605,232.5 ไร่ และมีอาณาเขตดังนี้

ภูมิประเทศ

จังหวัดอ่างทอง มีลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม ลักษณะคล้ายอ่าง ไม่มีภูเขา ดินเป็นดินเหนียวปนทราย พื้นที่ส่วนใหญ่เหมาะแก่การปลูกข้าว ทำไร่ ทำนา และทำสวน และมีแม่น้ำสายสำคัญไหลผ่าน 2 สาย คือแม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำน้อย แม่น้ำเจ้าพระยาเป็นแม่น้ำสายแขนงที่ไหลผ่านจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดชัยนาท จังหวัดสิงห์บุรี และจังหวัดอ่างทอง ซึ่งไหลผ่านอำเภอไชโย อำเภอเมืองอ่างทอง อำเภอป่าโมก รวมระยะทางที่ไหลผ่านจังหวัดอ่างทองประมาณ 40 กิโลเมตร

ภูมิอากาศ

ลักษณะภูมิอากาศจัดอยู่ในโซนร้อนและชุ่มชื้น เป็นแบบฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดู โดยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ ทำให้อากาศหนาวเย็น และแห้งแล้งในช่วงนี้ และได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายน ทำให้มีเมฆมากและฝนตกชุกในช่วงนี้

ประวัติศาสตร์

อ่างทองในอดีตนั้นมีผู้คนอาศัยอยู่มานานหลายร้อยปี เพราะท้องที่ของอ่างทองเป็นที่ราบลุ่มลักษณะคล้ายอ่าง ไม่มีภูเขา ป่า หรือแร่ธาตุ ได้รับการหล่อเลี้ยงจากแม่น้ำ 2 สาย คือ แม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำน้อย ซึ่งประชาชนส่วนใหญ่ได้อาศัยทำการเพาะปลูก อุปโภคบริโภค และคมนาคมตลอดมา
เมืองอ่างทอง ได้ชื่อนี้มาจากไหน มีการสันนิษฐานเป็น 3 นัย
นัยแรกเชื่อว่า คำว่า “อ่างทอง” น่าจะมาจากลักษณะทางกายภาพของพั้นที่นี้ คือเป็นที่ราบลุ่มเป็นแอ่งคล้ายอ่าง ซึ่งเต็มไปด้วยทุ่งนาที่ออกรวงเหลืองอร่ามเหมือนทอง จึงเป็นที่มาของชื่อจังหวัดอ่างทอง และดวงตราของจังหวัด เป็นรูปรวงข้าวสีทองอยู่ในอ่างน้ำ ซึ่งมีความหมายถึงความอุดมสมบูรณ์ด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหารและเป็นอู่ข้าวอู่น้ำ
นัยที่สองเชื่อว่า อ่างทองน่าจะมาจากชื่อของหมู่บ้านเดิมที่เรียกว่า “บางคำทอง” ตามคำสันนิษฐานของพระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์) สมุหเทศาภิบาล มณฑลอยุธยา เมื่อครั้งที่กราบทูลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในคราวเสด็จประพาสลำแม่น้ำน้อยและลำแม่น้ำใหญ่ใน พ.ศ. 2459 ว่า ชื่อของเมืองอ่างทองก็จะมาจากชื่อ บางคำทอง ซึ่งแต่งตั้งครั้งกรุงเก่า ว่าด้วยตามเสด็จพระราชดำเนินเมืองนครสวรรค์ของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชจากกรุงเก่า “ลุถึงบางน้ำชื่อ คำทอง น้ำป่วนเป็นฟอง คว่างคว้าง” และบางกระแสก็ว่า อาจเพี้ยนมาจากชื่อของแม่น้ำลำคลองในย่านนั้น ที่เคยมีชื่อว่า “ปากน้ำประคำทอง” ซึ่งเป็นทางแยกแม่น้ำหลังศาลากลางจังหวัด และส่วนในเข้าไปเรียกว่า “แม่น้ำสายทอง” ซึ่งปัจจุบันตื้นเขินใช้ไม่ได้แล้ว
นัยที่สามเชื่อว่า ชื่ออ่างทองน่าจะมาจากชื่อ บ้านอ่างทอง ซึ่งสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงกล่าวไว้ในหนังสือชุมนุมพระนิพนธ์เรื่องสร้างเมืองไว้ตอนหนึ่งว่า “เมืองอ่างทองดูเหมือนจะตั้งเมื่อครั้งสมเด็จพระนเรศวร เดิมชื่อเมืองว่า วิเศษไชยชาญ ตั้งอยู่ริมแม่น้ำน้อย ที่ลงมาจากนครสวรรค์ อยู่มาแม่น้ำน้อยตื้นเขิน ฤดูแล้งใช้เรือไม่สะดวก ย้ายเมืองออกมาตั้งริมแม่น้ำพระยาที่บ้านอ่างทองจึงเปลี่ยนชื่อเป็นเมืองอ่างทอง”
ถึงแม้ว่าชื่อของจังหวัดอ่างทอง จะได้มาตามนัยใดก็ตาม ชื่ออ่างทองนี้เป็นชื่อที่เริ่มมาในสมัยกรุงธนบุรีหรือสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น คือ เมื่อประมาณ 200 ปีที่ผ่านมา ย้อนกลับไปในอดีต สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีนั้น อ่างทองเป็นที่รู้จักในนามของเมืองวิเศษไชยชาญ ดังนั้นการศึกษาความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ของเมืองอ่างทองนั้น หมายถึงการศึกษาความเป็นมาของดินแดนแถบนี้ย้อนกลับไปกว่า 1 พันปี เป็นสมัยที่ชื่อเสียงของเมืองอ่างทองยังไม่ปรากฏ แต่มีหลักฐานแน่ชัดว่า มีดินแดนแถบนี้มานานแล้ว และอาจจะสรุปได้ว่าดินแดนนี้มีลักษณะเด่นชัดอย่างน้อย 2 ประการ คือ ความอุดมสมบูรณ์ที่เหมาะแก่การทำเกษตรกรรม ทำให้มีมนุษย์ตั้งหลักฐานอยู่กันมานานนับพัน ๆ ปี และเป็นดินแดนที่มีความสำคัญในแง่การเป็นยุทธศาสตร์โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสมัยกรุงศรีอยุธยา
จังหวัดอ่างทองในสมัยทวารวดีได้มีผู้คนเข้ามาตั้งถิ่นฐานเป็นเมืองแล้ว แต่เป็นเมืองไม่ใหญ่โตนัก หลักฐานที่ยังเหลืออยู่ในปัจจุบันก็คือ คูเมืองที่บ้านคูเมือง ตำบลห้วยไผ่ อำเภอแสวงหา ซึ่งนายบาเซอลีเย นักโบราณคดีชาวฝรั่งเศส และเจ้าหน้าที่กรมศิลปากรได้สำรวจพบ สันนิษฐานว่าเป็นเมืองโบราณสมัยทวาราวดี ปัจจุบันนี้บ้านคูเมืองอยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอแสวงหาไปทางทิศเหนือ 4 กิโลเมตร ในสมัยสุโขทัย ก็เข้าใจว่าผู้เข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่อาศัยเช่นกัน และดินแดนอ่างทองได้รับอิทธิพลจากสุโขทัยด้วย โดยการสังเกตจากลักษณะของพระพุทธรูปสำคัญในท้องถิ่นที่อ่างทองมีลักษณะเป็นแบบสุโขทัยหลายองค์ เช่น พระพุทธไสยาสน์วัดขุนอินทประมูล อำเภอโพธิ์ทอง และพระพุทธไสยาสน์วัดป่าโมกวรวิหาร อำเภอป่าโมก เป็นต้น
ต่อมาในสมัยกรุงศรีอยุธยาระยะต้น ๆ สันนิษฐานว่าอ่างทองคงเป็นชานเมืองของกรุงศรีอยุธยา เพิ่งจะยกฐานะเป็นเมืองมีชื่อว่า “แขวงเมืองวิเศษไชยชาญ” เมื่อประมาณ พ.ศ. 2127 โดยในพระราชพงศาวดารได้กล่าวถึงชื่อเมืองวิเศษไชยชาญเป็นครั้งแรกว่า สมเด็จพระนเรศวรเมื่อครั้งยังทรงเป็นมหาอุปราชและสมเด็จพระเอกาทศรถ ได้เสด็จยกกองทับไปรบกับพระยาพะสิมที่เมืองสุพรรณบุรี พระองค์ได้เสด็จโดยทางเรือจากกรุงศรีอยุธยา ไปทำพิธีเหยียบชิงชัยภูมิตัดไม้ข่มนาม ที่ตำบลลุมพลี พระองค์ได้เสด็จไปประทับที่แขวงเมืองวิเศษไชยชาญอันเป็นที่ชุมพล จึงสันนิษฐานว่า เมืองวิเศษไชยชาญได้ตั้งเมืองในแผ่นดินพระมหาธรรมราชา ตัวเมืองวิเศษไชยชาญสมัยนั้นตั้งอยู่ทางลำแม่น้ำน้อย ฝั่งตะวันออก หมู่บ้านตรงนั้นปัจจุบันยังเรียกว่า “บ้านจวน” แสดงว่าเป็นที่ตั้งจวนเจ้าเมืองเดิม ต่อมา สภาพพื้นที่และกระแสน้ำในแควน้ำน้อยเปลี่ยนแปลงไป การคมนาคมไปมาระหว่างแม่น้ำน้อยกับแม่น้ำใหญ่ (คือแม่น้ำเจ้าพระยา) เดินทางติดต่อไม่สะดวก จึงย้ายที่ตั้งเมืองไปอยู่ที่ตำบลบ้านแห ตรงวัดไชยสงคราม (วัดกระเจา) ฝั่งขวาหรือฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา พร้อมกับขนานนามให้เป็นสิริมงคลแก่เมืองใหม่ว่า “เมืองอ่างทอง” ส่วนเมืองวิเศษไชยชาญยังคงเป็นเมืองอยู่ตลอดมาจนถึง พ.ศ. 2439 จึงลดลงเป็นอำเภอ เรียกว่า อำเภอไผ่จำศีล ภายหลังจึงเปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอวิเศษไชยชาญ [3],[4] และราชการก็ใช้ชื่อ อำเภอวิเศษไชยชาญ มาจนถึงอย่างน้อยวันที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๙ [5] หลังจากนั้น ก็พบว่า เมื่อ ๑๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๙ ราชการก็ใช้ชื่อเป็น อำเภอวิเศษชัยชาญ [6] (ไม่พบหลักฐานคำสั่งให้เปลี่ยนชื่ออำเภอ ในหนังสือราชกิจจานุเบกษา)
กาลล่วงมาถึง พ.ศ. 2356 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้โปรดเกล้าฯ ให้พระยาภูธร สมุหนายกไปเป็นแม่กองทำการเปิดทำนบกั้นน้ำที่หน้าเมืองอ่างทอง เพื่อให้น้ำไหลไปทางคลองบางแก้วแต่ไม่สำเร็จ จึงย้ายเมืองอ่างทองไปตั้งที่ปากคลองบางแก้ว ตำบลบางแก้ว ท้องที่อำเภอเมืองอ่างทองฝั่งซ้ายของแม่น้ำพระยาจนถึงปัจจุบันนี้
เมืองอ่างทองมีท้องที่ต่อเนื่องกับกรุงศรีอยุธยา เสมือนเป็นเมืองที่ตั้งอยู่ชานเมืองหลวง จึงมีประวัติศาสตร์เกี่ยวเนื่องกันหลายตอน เฉพาะที่สำคัญ ๆ มีดังนี้ ราว พ.ศ. 2122 ญาณพิเชียรมาซ่อมสุมคนในตำบลยี่ล้น ขุนศรีมงคลแขวง ส่งข่าวกบฏนั้นมาถวาย สมเด็จพระมหาธรรมราชาโปรดให้พระยาจักรียกกำลังไปปราบปราม ตั้งทัพในตำบลมหาดไทย ญาณพิเชียรและพรรคพวกก็เข้าสู้รบกับพระยาจักรี เจ้าพระยาจักรีเสียชีวิตในการสู้รบ พวกชาวบ้านก็เข้าเป็นพวกญาณพิเชียร ญาณพิเชียรติดเอาเมืองลพบุรี ก็ยกกำลังไปปล้นเมืองลพบุรี จึงเกิดรบกับพระยาสีหราชเดโช ญาณพิเชียรถูกยิงตาย พรรคพวกกบฏก็หนีกระจัดกระจายไป กบฏญาณพิเชียรนับว่าเป็นเหตุการณ์สำคัญมากเหตุการณ์หนึ่ง ที่ชาวบ้านยี่ล้นและชาวบ้านมหาดไทย แขวงเมืองวิเศษไชยชาญเข้าไปเกี่ยวข้องด้วย
พ.ศ. 2128 พระเจ้าเชียงใหม่ยกกองทัพมาตั้งที่บ้านสระเกศ ท้องที่ตำบลไชยภูมิ อำเภอไชโย สมเด็จพระนเรศวรกับพระเอกาทศรถยกกองทัพไปถึงตำบลป่าโมก ก็พบทหารพม่าซึ่งลงมาเที่ยวรังแกราษฎรทางเมืองวิเศษไชยชาญ จึงได้เข้าโจมตีทหารพม่าล่าถอยไป พระเจ้าเชียงใหม่จึงได้จัดกองทัพยกลงมา สมเด็จพระนเรศวรจึงดำรัสสั่งให้พระราชมนูคุมกองทัพขึ้นตระเวนดูก่อน กองทัพระราชมนูไปปะทะกับกองทัพพม่าที่บ้านบางแก้ว สมเด็จพระนเรศวรเสด็จขึ้นไปถึงบ้านแห จึงมีดำรสให้ข้าหลวงขึ้นไปสั่งพระราชมนูให้ทำเป็นถอยทัพกลับมา แล้วพระองค์ก็โอบล้อมรุกไล่ตีทัพพม่าแตกทั้งทัพหน้าและทัพหลวง จนถึงที่ตั้งทัพพระเจ้าเชียงใหม่ที่บ้านสระเกศ กองทัพของพระเจ้าเชียงใหม่จึงแตกพ่ายกลับไป
พ.ศ. 2130 พระเจ้ากรุงหงสาวดียกทัพมาล้อมกรุงศรีอยุธยา ทหารไทยได้เอาปืนลงเรือสำเภาขึ้นไประดมยิงค่ายหลวงพระเจ้าหงสาวดี จนพระเจ้าหงสาวดีทนไม่ไหวต้องถอยทัพหลวงกลับขึ้นไปตั้งป่าโมก สมเด็จพระนเรศวรเสด็จโดยขบวนทัพเรือตามตีกองทัพหลวงของพระเจ้าหงสาวดีไปจนถึงป่าโมก จนพม่าแตกพ่ายถอยทัพกลับไป
พ.ศ. 2135 สมเด็จพระนเรศวรกับพระเอกาทศรถยกทัพจากรุงศรีอยุธยาไปตั้งที่ทุ่งป่าโมก แล้วยกทัพหลวงไปเมืองสุพรรณบุรีทางบ้านสามโก้ และทรงกระทำยุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชาที่ตำบลตระพังตรุ หนองสาหร่าย อำเภอดอนเจดีย์ เมืองสุพรรณบุรี จนมีชัยชนะยุทธหัตถีในครั้งนั้น
พ.ศ. 2147 สมเด็จพระนเรศวรและสมเด็จพระเอกาทศรถยกกองทัพไปตีกรุงอังวะ เสด็จเข้าพักพลที่ตำบลป่าโมก แล้วเสด็จไปทางชลมารค ขึ้นเหยียบชัยภูมิตำบลเอกราช อำเภอป่าโมก ตัดไม้ข่มนามตามพระราชพิธีของพราหมณ์แล้วยกทัพไป แต่สวรรคตเสียที่เมืองหางหรือเมืองห้างหลวง สมเด็จพระเอกาทศรถนำพระบรมศพกลับกรุงพร้อมด้วยพระเกียรติและในสมัยแผ่นดินสมเด็จพระศรีสรรเพชญ์ที่ 8 (พระเจ้าเสือ) พระองค์ได้ปลอมพระองค์เป็นสามัญชนไปในงานฉลองพระอาราม ได้ทรงชกมวยได้ชัยชนะถึง 2 ครั้ง สถานที่เสด็จไปก็คือ บ้านพระจันตชนบท แขวงเมืองวิเศษไชยชาญ เชื่อกันว่างานฉลองวัดที่เสร็จไปนั้นอาจเป็นวัดโพธิ์ถนนหรือวัดถนน ซึ่งเป็นวัดร้างอยู่ในตำบลตลาดกรวด (อำเภอเมืองอ่างทอง) นั่นเอง ซึ่งเหตุการณ์ดังกล่าวชี้ให้เห็นว่าดินแดนของอ่างทองยังคงความสำคัญต่อเมืองหลวง คือ กรุงศรีอยุธยา เมื่อมีงานนักขัตฤกษ์ของสามัญชนที่เลื่องลือเข้าไปถึงพระราชวังในเมืองหลวง แม้แต่พระมหากษัตริย์ก็ทรงสนพระทัยที่จะทอดพระเนตรและทรงเข้าร่วมด้วยกันอย่างสามัญ
พ.ศ. 2269 ในสมัยแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ พระองค์ได้เสด็จไปควบคุมชลอพระพุทธไสยาสน์วัดป่าโมก เพราะปรากฏว่าแม่น้ำเจ้าพระยาตรงหน้าวัดป่าโมก น้ำเซาะกัดตลิ่งจนทำให้พระวิหารพระพุทธไสยาสน์อาจพังลงได้ จึงมีรับสั่งให้ทำการชลอพระพุทธไสยาสน์เข้าไปประดิษฐานห่างฝั่งออกไป 150 เมตร กินเวลาทั้งหมดกว่า 5 เดือน
เนื่องจากเมืองอ่างทองเคยเป็นยุทธภูมิระหว่างทหารไทยกับทหารพม่าหลายครั้ง จึงมีบรรพบุรุษของเมืองอ่างทองได้สร้างวีรกรรมอันกล้าหาญในการรบกับพม่าหลายท่าน เช่น นายแท่น นายโชติ นายอิน และนายเมือง ทั้งสี่ท่านเป็นชาวบ้านสีบัวทอง (ตำบลสีบัวทอง อำเภอแสวงหาในปัจจุบัน) และมีนายดอก ชาวบ้านกรับ และนายทองแก้ว ชาวบ้านโพธิ์ทะเล ทั้งสองท่านเป็นชาวเมืองวิเศษไชยชาญ ได้ร่วมกับชาวบ้านของเมืองวิเศษไชยชาญสู้รบกับพม่าอยู่ที่ค่ายบางระจัน ซึ่งสมัยนั้นอยู่ในแขวงเมืองวิเศษไชยชาญ และสนามรบส่วนใหญ่อยู่ในท้องที่อำเภอแสวงหา วีรกรรมอันกล้าหาญชาญชัยของนักรบไทยค่ายบางระจันสมัยนั้น เป็นที่ภาคภูมิใจและประทับอยู่ในความทรงจำของคนไทยทุกคนตลอดมา ประชาชนชาวเมืองอ่างทองจึงพร้อมใจกันสร้างอนุสาวรีย์ เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่นายดอ และนายทองแก้วไว้ที่บริเวณวัดวิเศษไชยชาญ อำเภอวิเศษชัยชาญ โดยที่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมารเสด็จพระราชดำเนินมาทรงกระทำพิธีเปิดอนุสาวรีย์เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2520 ดังนั้นในวันที่ 25 มีนาคมของทุกปี ชาวเมืองอ่างทองจึงได้กระทำพิธีวางมาลาสักการะอนุสาวรีย์นายดอก นายทองแก้ว เพื่อเป็นการระลึกถึงคุณความดีในวีรกรรมความกล้าหาญของท่านเป็นประจำทุกปี
อีกครั้งของวีรกรรมของนับรบแขวงเมืองวิเศษไชยชาญ คือ ขุนรองปลัดชูกับกองอาทมาต คือเมื่อปี พ.ศ. 2302 ตรงกับรัชกาลของสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศ) ขึ้นครองราชสมบัติกรุงเทพทวารวดีศรีอยุธยา ในครั้งนั้น พระเจ้าอลองพญาครองราชสมบัติกรุงอังวะรัตนสิงห์ ปกครองพม่ารามัญทั้งปวง พระองค์ให้เกณฑ์ไพร่พล 8000 ให้มังฆ้องนรธาเป็นนายทัพยกมา ตีเมืองทวาย มะริด และตะนาวศรี พระเจ้าเอกทัศทรงเกณฑ์พล 5000 แบ่งเป็นสองทัพ โดยให้พระราชรองเมืองว่าที่ออกญายมราชคุมทัพใหญ่พล 3000 แลให้ออกญารัตนาธิเบศร์คุมทัพหนุนพล 2000 ในครั้งนั้นมีครูฝึกเพลงอาวุธอยู่ในเมืองวิเศษไชยชาญอยู่ผู้หนึ่ง ชื่อ ครูดาบชู ซึ่งได้รับแต่งตั้งจากสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศให้เป็นปลัดเมือง กรมการเมืองวิเศษไชยชาญ ชาวบ้านจึงเรียนว่าขุนรองปลัดชู นำกองอาทมาต 400 มาอาสาศึก แลได้ติดตามไปกับกองทัพออกญารัตนาธิเบศร์ เมื่อเดินทางข้ามพ้นเขาบรรทัดก็ได้ทราบว่า เมืองมะริดและตะนาวศรีเสียแก่ข้าศึกแล้ว จึงตั้งทัพรออยู่เฉย ๆ โดยทัพพระราชรองเมืองตั้งอยู่ที่แก่งตุ่มตอนปลายแม่น้ำตะนาวศรี ส่วนออกญารัตนาธิเบศร์ตั้งทัพอยู่ที่เมืองกุยบุรี แต่ให้กองอาทมาตมาขัดตาทัพรอที่อ่าวหว้าขาว
จากนั้นสามวันทัพพม่าเข้าตีทัพไทยที่แก่งตุ่มแตกพ่าย และยกมาเพื่อเข้าตีทัพหนุน กองอาทมาตของขุนรองปลัดชู ได้รับคำสั่งให้ตั้งรับพม่าที่ตำบลหว้าขาวริมทะเล ครั้นพอเพลาเช้า ทัพพม่า 8000 ก็ปะทะกับกองอาทมาต 400 นาย ทัพทั้งสองปะทะกันดุเดือดจนถึงเที่ยง มิแพ้ชนะ แต่ทัพไทยพลน้อยกว่าก็เริ่มอ่อนแรง ขุนรองปลัดชูรบจนสิ้นกำลังถูกทหารพม่ารุมจับตัวไป จากนั้นพม่าให้ช้างศึกเข้าเหยียบย่ำทัพไทยล้มตายเป็นอันมาก กองอาทมาต 400 คนตายแทบจะสิ้นทั้งทัพ เพื่อระลึกถึงวีรกรรมของกองอาสาวิเศษไชยชาญในครั้งนั้น จึงได้มีการสร้างวัดขึ้นเป็นที่ระลึกแก่นักรบกล้าทั้ง 400 คนโดยเรียกกันว่า "วัดสี่ร้อย"

ทำเนียบนามเจ้าเมืองอ่างทองและผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง

นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปฏิรูปการปกครองโดยนำระบบเทศาภิบาลมาใช้ในประเทศไทย เมืองอ่างทองยังคงมีสภาพเป็นเมืองตามรูปการปกครองแบบเดิมก่อนการปฏิรูป ปรากฏพระนามและรายนามผู้ดำรงตำแหน่งเจ้าเมืองหรือผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทองดังนี้
รายพระนามและรายนามผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง
พระนาม/ชื่อเข้ารับตำแหน่งสิ้นสุดการดำรงตำแหน่ง
1. พระยาวิเศษไชยชาญ ปรีชาญาณยุติธรรมโกศลสกลเกษตรวิไสยพ.ศ. 2438พ.ศ. 2438
2. พระพิทักษ์เทพธานีพ.ศ. 2438พ.ศ. 2439
3. พระยาวิเศษไชยชาญ28 กันยายน 2439พ.ศ. 2442
4. พระยาอินทรวิชิต (อวบ เปาโรหิต)พ.ศ. 2442พ.ศ. 2446
5. พระศรีณรงค์พ.ศ. 2446พ.ศ. 2447
6. หม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร)พ.ศ. 2447พ.ศ. 2450
7. พระยาอินทรวิชิต (รัตน์ อาวุธ)พ.ศ. 2450พ.ศ. 2456
8. พระยาวิเศษไชยชาญ (ชอุ่ม อมัติรัตน์)พ.ศ. 2456พ.ศ. 2462
9. พระยาวิเศษภักดี (หม่อมราชวงศ์กมล นพวงศ์)พ.ศ. 2462พ.ศ. 2465
10. หม่อมเจ้าธงชัยสิริพันธ์ ศรีธวัชพ.ศ. 2465พ.ศ. 2470
11. พระกำแพงพราหมณ์ (ทองสุก รตางศุ)พ.ศ. 2470พ.ศ. 2473
12. พระยาวิชิตรสรไกร (เอี่ยม อัมพานนท์)พ.ศ. 2473พ.ศ. 2474
13. หลวงวิโรจน์รัฐกิจ (เปรื่อง โรจนกุล)พ.ศ. 2474พ.ศ. 2478
14. พระประชากรบริรักษ์ (แอร่ม สุนทรศารทูล)พ.ศ. 2478พ.ศ. 2483
15. หลวงอรรถเกษมภาษา (สวิง ถาวรพันธ์)พ.ศ. 2483พ.ศ. 2484
16. หลวงอังคณานุรักษ์ (ถวิล เทพาคำ)พ.ศ. 2484พ.ศ. 2486
17. หลวงบรรณสารประสิทธิ์ (สิทธิ โรจนวิภาต)พ.ศ. 2486พ.ศ. 2487
18. ขุนพำนักนิคมคาม (สนธิ พำนักนิคมคาม)พ.ศ. 2487พ.ศ. 2490
19. นายประกอบ ทรัพย์มณีพ.ศ. 2490พ.ศ. 2492
20. หลวงธุระนัยพินิจ (นพ นัยพินิจ)พ.ศ. 2492พ.ศ. 2495
21. นายพรหม สูตรสุคนธ์พ.ศ. 2495พ.ศ. 2500
22. นายแสวง ทิมทองพ.ศ. 2500พ.ศ. 2501
23. นายยรรยง ศุนาลัยพ.ศ. 2502พ.ศ. 2503
24. นายพล จุฑากรพ.ศ. 2503พ.ศ. 2508
25. ร.ต.ท. เรือง สถานานนท์พ.ศ. 2508พ.ศ. 2510
26. นายวิชาญ บรรณโศภิษฐ์พ.ศ. 2510พ.ศ. 2517
27. นายสงวน สาริตานนท์พ.ศ. 2517พ.ศ. 2519
28. นายเสถียร จันทรจำนงค์พ.ศ. 2519พ.ศ. 2521
29. นายวิเชียร วิมลศาสตร์พ.ศ. 2521พ.ศ. 2526
30. นายสมหวัง จูตะกานนท์พ.ศ. 2526พ.ศ. 2530
31. นายคงศักดิ์ ลิ่วมโนมนต์พ.ศ. 2530พ.ศ. 2532
32. นายทวีป ทวีพาณิชย์พ.ศ. 2532พ.ศ. 2534
33. นายประสาน สุขรังสรรค์พ.ศ. 2534พ.ศ. 2535
34. นายนิธิศักดิ์ ราชพิตรพ.ศ. 2535พ.ศ. 2537
35. นายประเสริฐ เปลี่ยนรังษีพ.ศ. 2537พ.ศ. 2538
36. นายสุชาติ สหัสโชติพ.ศ. 2538พ.ศ. 2542
37. นายพิสิฐ เกตุผาสุขพ.ศ. 2542พ.ศ. 2544
38. นายเชนทร์ วิพัฒน์บวรวงศ์พ.ศ. 2544พ.ศ. 2547
39. นายกมล จิตระวังพ.ศ. 2547พ.ศ. 2548
40. นายวิบูลย์ สงวนพงศ์พ.ศ. 25481 ตุลาคม 2550
41. นายศุทธนะ ธีวีระปัญญา1 ตุลาคม 255030 กันยายน 2552
42. นายวิศว ศะศิสมิต1 ตุลาคม 255230 กันยายน 2556
43. นายปวิณ ชำนิประศาสน์2 ตุลาคม 255630 กันยายน 2558
44. นายวีร์รวุทธ์ ปุตระเศรณี1 ตุลาคม 2558ปัจจุบัน

หน่วยการปกครอง

การปกครองแบ่งออกเป็น 7 อำเภอ 73 ตำบล 513 หมู่บ้าน
  1. อำเภอเมืองอ่างทอง
  2. อำเภอไชโย
  3. อำเภอป่าโมก
  4. อำเภอโพธิ์ทอง
  5. อำเภอแสวงหา
  6. อำเภอวิเศษชัยชาญ
  7. อำเภอสามโก้
   แผนที่

ประชากร

เมื่อสิ้นปี พ.ศ. 2556 จังหวัดอ่างทองมีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 283,732 คน จำแนกเป็นชาย 136,237 คน เป็นหญิง 147,495 คน (อันดับที่ 69 ของประเทศ) จำนวนบ้าน 92,520 หลัง ความหนาแน่นของประชากร 292.99 ตร.กม (อันดับที่ 11 ของประเทศ)
[gmaps] [/gmaps]

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น